Page 106 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 106

2-50 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

โดย​จำแนก​ได้ว​ ่า ข้อส​ รุป​ใดเ​ป็น​ผลจ​ าก​ความ​สัมพันธ์​ของ​สถานการณ์​ที่​กำหนดใ​ห้​อย่าง​แน่นอน และข​ ้อ​สรุป​
ใดไ​ม่เ​ป็นผ​ ล​ของค​ วาม​สัมพันธ์น​ ั้น

            3.5.4	 การ​ตีความ (Interpetation) เป็นการ​จำแนก​ว่า​ข้อ​สรุป​ใด​เป็น​หรือ​ไม่​เป็น​ลักษณะ​
คุณสมบัติ​ทั่วไปท​ ี่​สรุปไ​ด้จ​ าก​สถานการณ์​ที่ก​ ำหนด​ให้ หรือ​พิจารณา​ข้อความ​ย่อย​ว่า เป็น​จริง​ตามข​ ้อความ​ที​่
จัด​ให้ห​ รือ​ไม่

            3.5.5 	การ​ประเมิน​ข้อ​โต้​แย้ง (Evaluation of Argument) เป็นการ​จำแนก​ว่า ข้อความ​ใด​
เป็นการ​อ้าง​เหตุผล​ที่​หนัก​แน่น (เมื่อ​ข้อความ​นั้น​มี​ความ​สำคัญ และ​เกี่ยวข้อง​โดยตรง​กับ​ประเด็น​ปัญหา​ที่​
กำหนด​ให้) กับ​ข้อความ​ใด​เป็นการ​อ้าง​เหตุผล​ที่​ไม่​หนัก​แน่น (ข้อความ​นั้น​ไม่มี​ความ​เกี่ยวข้อง​โดยตรง​กับ​
ประเด็นป​ ัญหาท​ ี่​กำหนด​ให้)

       3.6	 กลุ่มเ​ป้าห​ มายท​ ี่ต​ ้องการว​ ัด: นักเรียนช​ ั้นม​ ัธยมศึกษาป​ ีท​ ี่ 3-6 นิสิตน​ ักศึกษาแ​ ละบ​ ุคคลใ​นอ​ าชีพ​
ต่างๆ

       3.7	 ลักษณะข​ อง​เครื่องม​ ือ​ที่น​ ำ​ไป​ใช้ว​ ัด: มี​ลักษณะ​เป็นส​ ถานการณ์​และ​กำหนดต​ ัวเ​ลือก​ให้
       ตวั อย่าง เครือ่ ง​มอื ​ท่ใี​ช้​วดั ค​ วาม​สามารถ​ใน​การค​ ิด​วจิ ารณญาณ​ดา้ น​การ​ตคี วาม
       คำ​ส่ัง โปรด​อ่านส​ ถานการณ์​ต่อ​ไปน​ ี้ ก่อนต​ อบ​ข้อ​คำถาม​ข้อ 1 และ 2 โดย​มี​ตัวเ​ลือก​ให้ 2 ตัวเ​ลือก​
ดังนี้
       ตอบ “จริง” หมาย​ถึง จริงต​ าม​เรื่องร​ าว​ที่เ​สนอ​ไว้
       ตอบ “ไม่จ​ ริง” หมาย​ถึง ไม่จ​ ริงต​ าม​เรื่อง​ราวท​ ี่​เสนอไ​ว้
       สถานการณ:์ “จากก​ าร​ศึกษาพ​ ัฒนาการด​ ้านค​ ำศ​ ัพท์​ของเ​ด็กว​ ัย 8 เดือน ถึง 6 ขวบ พบว​ ่า จำนวน
​คำศ​ ัพท์​ที่​เด็กอ​ ายุ 8 เดือน​ถึง 6 ขวบ​พูดไ​ด้ เริ่ม​ต้นท​ ี่ศ​ ูนย์​ถึง 2,562 คำ”

ข้อคำถาม                                                             จริง ไมจ่ ริง

ข้อ 1 ไม่มีเด็กคนใดในการศึกษาครั้งนี้ สามารถพูดได้เมื่ออายุ 6 เดือน  ✗

ข้อ 2 ในระยะที่เด็กหัดเดิน มีการพัฒนาคำศัพท์ในระดับต่ำที่สุด            ✗

       3.8	 คุณภาพข​ องเ​ครื่องม​ ือท​ ี่น​ ำ​ไป​ใช้ว​ ัด: แบบป​ ระเมินค​ วาม​คิดว​ ิจารณญาณ​ที่​นำไ​ป​ใช้​วัด
            3.8.1 	มีก​ ารห​ า​ค่าค​ วามย​ าก​ง่าย และ​หาค​ ่า​อำนาจจ​ ำแนกร​ ายข​ ้อ
            3.8.2 	มก​ี ารห​ าความต​ รงเ​ชงิ ป​ ระจกั ษจ​์ ากค​ ณะผ​ สู​้ รา้ งแ​ บบป​ ระเมนิ ค​ วามค​ ดิ วจิ ารณญาณ และ​

นำไ​ป​ตรวจ​สอบก​ ับ​กลุ่มบ​ ุคคลท​ ี่​มีล​ ักษณะเ​ดียว​กับก​ ลุ่มเ​ป้า​หมายใ​น​สถาน​ที่ต​ ่างๆ
            3.8.3 	มี​การห​ าความ​ตรง​เชิงเ​นื้อหา ความต​ รง​เชิงโ​ครงสร้าง
            3.8.4 	มีก​ ารห​ าค​ ่าค​ วามเ​ที่ยง โดยก​ ารห​ าค​ ่าส​ ัมประสิทธิ์ส​ หส​ ัมพันธ์แ​ บบแ​ บ่งค​ รึ่ง (Split-Half

Reliability Coefficients) กับก​ ลุ่มเ​ป้า​หมาย​แต่ละร​ ะดับ ตั้งแต่ร​ ะดับ​มัธยมศึกษา​ปีท​ ี่ 3, 4, 5, 6 และ​นิสิต​
นกั ศกึ ษาช​ ัน้ ป​ ท​ี ี่ 1-4 นำค​ า่ ค​ ะแนนท​ ไี​่ ดม​้ าห​ าค​ า่ ส​ มั ประสทิ ธสิ​์ หส​ มั พนั ธโ​์ ดยใ​ชส​้ ตู ร​ สเ​ปยี ร​ แ​์ มน บราว​ น์ (Spear-
man Brown Formula) ได้​ค่า​สัมประสิทธิ์​สห​สัมพันธ์​อยู่​ระหว่าง .75 –.82

ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111