Page 105 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 105
การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-49
2.3 ฝึกก ารใช้เครื่องม ือม าตรฐานทางการแ นะแนวในการท ดสอบเป็นรายบ ุคคลและเป็นกล ุ่ม
2.3.1 ผู้ให้บริการแนะแนวต้องฝึกทำหน้าที่เป็นผู้ทดสอบ ฝึกการเริ่มต้นการทดสอบ ตั้งแต่
การสร้างสัมพันธภาพก ับผ ู้รับก ารทดสอบ ขอรายละเอียดต่างๆ ของผู้รับการท ดสอบเกี่ยวกับ ชื่อ นามสกุล
ระดับก ารศึกษา สถาบันการศึกษา วันเดือนปีเกิด
2.3.2 ในระหว่างก ารท ดสอบ ผู้ทดสอบจ ะต้องสังเกตพ ฤติกรรมข องผ ู้รับก ารท ดสอบ ความ
สนใจและเจตคติที่มีต่อการทดสอบ อารมณ์ ความรู้สึก กิริยาท่าทาง ความมั่นใจ ความไม่มั่นใจของผู้รับ
การทดสอบและจะต ้องบ ันทึกไว้ด ้วย
2.3.3 ภายหลังการทดสอบ ผู้ทดสอบฝึกการให้คะแนนและการแปลงคะแนนดิบให้เป็น
คะแนนม าตรฐาน แปลความหมายของค ะแนนมาตรฐานแ ละนำเสนอผ ลก ารทดสอบ
3. ตัวอย่างเครือ่ งมือม าตรฐานท างการแ นะแนว และก ารใช้เครื่องมอื มาตรฐานทางการแนะแนว
ตัวอย่างเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนวด้านการศึกษา และการใช้เครื่องมือมาตรฐานทาง
การศึกษา
3.1 ชื่อเครื่องม ือ แบบประเมินความคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking Appraisal)
3.2 ผู้ส ร้าง กู๊ดวิน วัทสัน และเอดเวิร์ด เอม กลาสเซอร์ (Goodwin Watson and Edward M.
Glasser)
3.3 ปีท ี่สร้าง ค.ศ. 1980
3.4 จุดมุ่งหมายของแบบประเมินความคิดวิจารณญาณ: เพื่อใช้วัดความสามารถในการคิด
วิจารณญาณ และพยากรณ์ความส ำเร็จของบ ุคคลในอ าชีพต่างๆ
3.5 ลักษณะข องส ิ่งที่ต ้องการวัด: สิ่งท ี่ต ้องการวัดคือ ความสามารถในการค ิดวิจารณญาณ ความ
สามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลและไตร่ตรองอย่างรอบคอบเกี่ยวกับข้อมูล หรือสภาพการณ์ต่างๆ ที่
ปรากฏ เพื่อน ำไปใช้ในก ารต ัดสินใจท ี่จ ะเชื่อ หรือก ระทำส ิ่งต ่างๆ หรือห าส าเหตตุ ่างๆ และล งส ูข่ ้อส รุปไดอ้ ย่าง
เหมาะส ม ความค ิดวิจารณญาณน ี้ป ระกอบด้วยล ักษณะต่างๆ 5 ด้าน คือ
3.5.1 การอ้างอิง (Inference) เป็นการแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องราว จำแนกระดับความ
น่าจะเป็นของข้อสรุปที่คาดคะเนจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ว่า ข้อสรุปนั้นจริง (เป็นไปได้อย่างแน่นอน)
น่าจะจริง (น่าจะเป็นไปได้) สรุปไม่ได้ (ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะสรุป) น่าจะไม่เป็นจริง (น่าจะเป็นไปไม่ได้)
และไม่จ ริง (เป็นไปไม่ได้อย่างแ น่นอน)
3.5.2 การกำหนดข้อตกลงเบื้องต้น (Recognition of Assumptions) เป็นการจำแนกว่า
ข้อความใดเป็นข้อตกลงเบื้องต ้นที่อยู่เบื้องห ลังข้อมูลที่ปรากฏ หรือพิจารณาข้อความย่อยว่า เป็นข้อตกลง
ตามข ้อความห รือส ถานการณท์ ีก่ ำหนดใหห้ รือไม่ กับข ้อความใดไมเ่ป็นข ้อต กลงเบื้องต ้นส ำหรับข ้อความห รือ
สถานการณ์ที่กำหนดให้
3.5.3 การน ริ นยั (Deduction) เปน็ การคดิ พ จิ ารณาข อ้ ความเกีย่ วก บั เหตแุ ละผ ล โดยค ำนงึ ถ งึ
ข้อเท็จจริงที่เป็นสาเหตุ และอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุทั้งหมด เพื่อสรุปเป็นผลของข้อความนั้น
ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช