Page 100 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 100

2-44 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

                     (1)	ลักษณะ​ท่ัวๆ ไป​ของ​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​แต่ละ​ชนิด และ​
ขอบเขต​ของ​การนำ​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ชนิด​นั้นๆ ไป​ใช้ เช่น เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​ชนิด​นั้นๆ
นำ​ไป​ใช้​กับ​บุคคล​ท่ี​มีอายุ​ต้ังแต่​ก่ี​ปี​ขึ้น​ไป จนถึง​อายุ​ก่ี​ปี และ​มี​ข้อ​จำกัด​ที่​จะ​นำ​ไป​ใช้​กับ​บุคคล​ประเภท​ใด​บ้าง
ซง่ึ ​จำเปน็ ​อย่าง​ย่งิ ​ท​ีจ่ ะ​ต้อง​ศึกษาร​ าย​ละเอยี ดข​ องข​ ้อมูลด​ งั ก​ ลา่ ว

                     (2)	การ​ดำเนิน​การ​ตาม​คำ​แนะนำ​ตาม​ที่​ปรากฏ​ใน​คู่มือ​อย่าง​ระมัดระวัง เช่น จะ​
ต้อง​ไม่​เปลี่ยนแปลง​หรือ​ย่นย่อ​คำ​สั่ง หรือ​ยก​ตัวอย่าง​ประกอบ​หรือ​อธิบาย​คำ​สั่ง​โดย​การ​อุปมา​อุปมัย ต้อง​ไม่​
เปลี่ยนแปลงเ​นือ้ หาข​ ้อสอบ (Test Item) ตอ้ งไ​มส​่ ะกดค​ ำ หรอื ​ใหค้​ วาม​ชว่ ยเ​ห​ลอื ​ใดๆ แกผ่​ ้รู ับ​การท​ ดสอบ

                     (3)	สภาพ​ห้อง​สอบ (The Testing Room) จะ​ต้อง​มี​แสง​สว่าง​พอ​เหมาะ ระบาย​
อากาศ​ได้​ดี ปราศจาก​เสียง​หรือ​ส่ิง​รบ​กวน​ใดๆ พ้ืน​โต๊ะ​ท่ี​ใช้​วาง​เอกสาร​การ​สอบ​ต้อง​เรียบ​เสมอ​กัน ไม่​ขรุขระ
อุปกรณต์​ า่ งๆ ใน​การท​ ดสอบจ​ ะ​ต้องเ​ก็บ​ให​้หา่ งส​ ายตา​ของ​ผรู้ บั ​การท​ ดสอบ จนกว่า​จะ​ถึง​เวลา​ท่​จี ะน​ ำม​ าใ​ช้

                     (4)	เวลาท​ ใ​่ี ชใ​้ นก​ ารท​ ดสอบ (Testing Time) ผท​ู้ ดสอบจะต​ อ้ งด​ ำเนนิ ก​ ารต​ ามเ​วลา​
ท่​ีกำหนด

                     (5)	บรรยากาศใ​น​การ​ทดสอบ ผท​ู้ ดสอบ​จะ​ต้องด​ ำเนนิ ​การท​ ดสอบ​ตามข​ ัน้ ​ตอน​ใน​
ลกั ษณะท​ ไ​่ี มเ​่ รง่ ร​ บี ขณะด​ ำเนนิ ก​ ารท​ ดสอบผ​ ท​ู้ ดสอบส​ ามารถใ​หก​้ ำลงั ใ​จแ​ กผ​่ รู้ บั ก​ ารท​ ดสอบ แตต​่ อ้ งไ​มพ​่ รำ่ เพรอื่ ​
จนเ​กิน​ไป นอกจากน​ ี้ แม้ว่าผ​ ู้รบั ก​ าร​ทดสอบบ​ างค​ นต​ อ้ งการ​จะท​ ราบ​ว่า คำต​ อบ​ของ​เขาถ​ กู ห​ รือ​ผิด ผู้ท​ ดสอบก​ ​็
จะต​ อ้ ง​ไม่​ระบ​คุ ำ​ตอบว​ า่ ถกู ห​ รือ​ผิด แต​่จะ​ตอ้ งม​ ​ีวิธ​กี ารพ​ ดู ​เพอ่ื ​มิใ​ห้​ผ้รู บั ​การท​ ดสอบ​หมดก​ ำลงั ​ใจ

                     (6)	การ​บันทึก​คำ​ตอบ ใน​การ​ทดสอบ​เป็น​ราย​บุคคล ผู้​ทดสอบ​จะบัน​ทึก​คำ​ตอบ​
ของผ​ ้รู ับ​การท​ ดสอบ​ลงใ​น​แบบ​บนั ทกึ (Record Form) โดย​ไมใ​่ ห้ผ​ ู้รับ​การ​ทดสอบ​เห็น​คำต​ อบ

                 3)	การต​ รวจใ​หค​้ ะแนน ผูท​้ ดสอบต​ ้องป​ ฏบิ ัตติ​ ามค​ ำแ​ นะนำใ​นก​ ารใ​หค้​ ะแนน (Scoring)
ของแ​ บบท​ ดสอบ หรือ​ของเ​ครื่องม​ ือ​มาตรฐาน​ทางการแ​ นะแนว​ที่​นำม​ า​ใช้ โดย

                     (1) 	นำผ​ ลก​ ารท​ ดสอบ มาใ​หค​้ ะแนนต​ ามเ​กณฑก​์ ารใ​หค​้ ะแนน คะแนนท​ ใ​ี่ หค​้ รงั้ แ​ รก​
น้ี​คือ คะแนน​ดิบ (Raw Scores)

                     (2) 	แปลงค​ ะแนนด​ บิ ใ​ห​เ้ ปน็ ค​ ะแนนม​ าตรฐาน (Standard Scores) ตาม​ทีร​่ ะบุ​ใน​
คู่มือ​ของเ​คร่ือง​มอื ม​ าตรฐานท​ างการแ​ นะแนว​แตล่ ะช​ นดิ

                     (3) 	แปล​ความ​หมาย​ของ​คะแนน​มาตรฐาน​ท่ี​ได้​จาก​ข้อ (2) ตาม​เกณฑ์​การ​แปล​
ความห​ มายข​ องเ​คร่อื ง​มอื ​มาตรฐานท​ างการแ​ นะแนว​ชนดิ น​ ั้นๆ

                 4) 	การนำเ​สนอผ​ ลก​ ารท​ ดสอบ โดย​นำเ​สนอใ​นร​ ูปก​ ราฟแ​ ท่งห​ รือเ​ส้นภ​ าพ (Profile) เพื่อ​
ประโยชน์ใ​นก​ าร​ตีความ​ผลก​ ารท​ ดสอบ​ต่อ​ไป

            6.2.2 การ​รายงาน​ผล​การ​ทดสอบ ภาย​หลัง​การนำ​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​ไป​ใช้
ควรม​ ี​การร​ ายงาน​ผลก​ าร​ทดสอบ สำหรับ​หัวข้อท​ ี่จ​ ะน​ ำ​เสนอใ​น​แบบร​ ายงานผ​ ลค​ วร​ครอบคลุม​หัวข้อ​ต่อ​ไปน​ ี้

                           ลขิ สิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105