Page 98 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 98
2-42 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
3.3.3 เมอื่ เขยี นข อ้ ค ำถามเรยี บรอ้ ยแ ลว้ จดั ข อ้ ค ำถามใหเ้ ปน็ ห มวดห มตู่ ามน ยิ ามป ฏบิ ตั กิ าร เพือ่
อำนวยความสะดวกแก่ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่สอดคล้องกับเครื่องมือทางการแนะแนวที่สร้างขึ้น ในการ
ประเมินข้อคำถามแต่ละข้อให้สอดคล้องก ับนิยามปฏิบัติการ หลังจากผู้เชี่ยวชาญประเมินเครื่องมือที่สร้าง
ขึ้นแล้วหากมีข้อบกพร่องประการใด ผู้สร้างเครื่องมือนั้นจะต้องนำมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ
ผู้เชี่ยวชาญ ในขั้นนี้ ประเด็นที่ต้องพิจารณาคือ ความตรงของข้อคำถามกับจุดมุ่งหมายของการสร้าง
เครื่องม ือนั้นๆ เป็นการพิจารณาในเชิงโครงสร้างของค ำถาม พิจารณาในประเด็นของภ าษาในแง่ข องการสื่อ
ความหมาย ความยากง่ายข องภาษาท ี่ใช้ และพิจารณาป ระเด็นของตัวเลือก (ถ้ามี)
3.3.4 เมื่อคดั เลอื กข อ้ ค ำถามท เี่หมาะสมไดแ้ ล้ว จึงน ำมาจ ดั เปน็ ช ุดของเครือ่ งม อื น น้ั ๆ เพ่อื น ำ
ไปทดลองใช้ (Try Out) กับกลุ่มบุคคลที่มีลักษณะเช่นเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มเป้าหมายที่
ต้องการวัด และนำไปห าคุณภาพของเครื่องม ือท ี่สร้างขึ้นต่อไป
4. การหาค ณุ ภาพของเครื่องม อื ม าตรฐานท างการแนะแนว
เมื่อสร้างเครื่องมือแนะแนวที่ต้องการได้แล้ว ผู้สร้างเครื่องมือนั้นก็จะนำเครื่องมือที่สร้างขึ้นไป
ทดลองใช้กับกลุ่มบุคคลที่มีลักษณะเช่นเดียวกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการวัด เพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือ
ที่สร้างขึ้น โดย
4.1 ก่อนการนำเครื่องมือแนะแนวที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้ ผู้สร้างเครื่องมือนั้นจะต้องหาความตรง
เชิงประจักษ์ หาความตรงเชิงเนื้อหา และหาความตรงเชิงโครงสร้าง
4.2 หาค ่าค วามย ากง ่ายข องเครื่องม ือท ี่ส ร้างข ึ้น ค่าค วามย ากง ่ายข องเครื่องม ือท ี่ม ีค ่าค วามย ากง ่าย
ของข ้อค ำถามที่เหมาะสม คือ มีค ่าค วามย ากง่ายร ะหว่าง .20 – .80
4.3 หาค ่าอำนาจจำแนกของเครื่องมือที่ส ร้างขึ้น
4.4 หาค ่าความเที่ยงของเครื่องมือที่สร้างขึ้น โดยใช้สถิติวิเคราะห์ค วามส ัมพันธ์ซ ึ่งมีหลายวิธี เช่น
การวัดค่าความค งที่ การว ัดค วามเท่ากัน หรือการวัดความค งที่ภายใน
อย่างไรก็ตาม การหาคุณภาพเครื่องมือแนะแนวที่สร้างขึ้นและวิธีการทางสถิติที่จะใช้ในการ
ตรวจสอบค ุณภาพข องเครื่องม ือแ นะแนวน ั้นจะข ึ้นอยู่ก ับลักษณะของเครื่องม ือแนะแนวท ี่ส ร้างข ึ้นซึ่งอ าจจ ะ
เป็นแบบท ดสอบ แบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบวัด แบบป ระเมิน หรือแบบส ังเกต
ผลก ารว เิ คราะหห์ าค ณุ ภาพเครือ่ งม อื แ นะแนวท สี่ รา้ งข ึน้ จ ะช ว่ ยในก ารต ดั สนิ ใจว า่ จะป รบั ปรงุ ข อ้ สอบ
ของเครือ่ งม อื แ นะแ นวน ัน้ ๆ หรอื ไม่ ทัง้ นเี้ พราะว า่ ขอ้ สอบบ างข อ้ หากไมเ่ หมาะส มต ามค า่ ส ถติ ทิ กี่ ำหนด ผสู้ รา้ ง
เครื่องมือแนะแนวนั้น จำเป็นที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขข้อสอบเหล่านั้น แล้วนำเครื่องมือที่ปรับปรุงใหม่นั้น
ไปท ดลองใชอ้ ีกค รัง้ ห นึ่ง ซึ่งก ารท ดลองใชเ้ครื่องม อื แ นะแนวน ั้น อาจท ำการท ดลองใชม้ ากกวา่ 1 ครัง้ ซึง่ ข ึ้นอ ยู่
กับผ ลก ารทดสอบแ ต่ละครั้ง เมื่อท ำการป รับปรุงแก้ไขแ ละได้ค ่าสถิติตามที่กำหนดแ ล้ว ผู้ส ร้างก ็จะจัดพ ิมพ์
เครื่องมือแนะแนวที่ผ่านก ารตรวจส อบคุณภาพให้เป็นร ูปเล่มเพื่อนำไปใช้ในการท ดสอบต่อไป
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช