Page 97 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 97
การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-41
(3) การว าดภ าพโรงเรียน (Kinetic School Drawing: KSD) พฒั นาโดยค นอฟฟ์
และเพร้าท ์ (Knoff and Prout, 1985)
วตั ถปุ ระสงคข์ องก ารว าดภ าพโรงเรยี น เพอื่ ป ระเมนิ ค วามร สู้ กึ แ ละก ารร บั ร เู้ กย่ี วก บั
สมั พนั ธภาพของผวู้ าดท ี่มีต่อเพอ่ื น ครู และโรงเรียน ความรสู้ ึกข องผวู้ าดท่ีมีตอ่ บ รรยากาศในโรงเรยี น บุคคล
ที่ผู้วาดปรารถนาจะใกล้ชิดสนิทสนม บุคคลท่ีผู้วาดรู้สึกว่ามีความสำคัญต่อชีวิต ปัญหาและความยุ่งยาก
ในจิตใจของผู้วาด ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะสะท้อนถึงบุคลิกภาพและเจตคติของผู้วาดที่มีต่อทุกๆ สิ่ง ทุกๆ อย่างใน
โรงเรียน การวาดภาพโรงเรียน เป็นเครื่องมือมาตรฐานท่ีใช้ได้กับทุกวัฒนธรรม เหมาะสำหรับบุคคลที่อายุ
5 ขวบ จนถึง 20 ปี
สำหรับการแปลความหมายของการวาดภาพ ไม่ว่าจะเป็นการวาดภาพครอบครัว
หรือการว าดภ าพโรงเรียนจะต ้องไดร้ บั การฝกึ ให้มปี ระสบการณ์ และเชย่ี วชาญ เพ่ือม ใิห้เกิดความผดิ พ ลาดใน
การแ ปลแ ละก ารต คี วามห มายข องภ าพท ผ่ี รู้ บั ก ารท ดสอบว าด อกี ท ง้ั ก ารแ ปลค วามห มายแ ละท ต่ี คี วามห มายข อง
ภาพท ผ่ี รู้ บั ก ารท ดสอบว าดน ี้ จะแ ปลค วามห มายแ ละต คี วามห มายเพอ่ื เปน็ ข อ้ มลู ป ระกอบก ารใหบ้ รกิ ารป รกึ ษา
ของผ ู้ให้บ รกิ ารป รึกษาเท่านั้น มใิ ชแ่ ปลค วามห มายภ าพให้ผ้รู ับการท ดสอบทราบ
3. การด ำเนินก ารสร้างหรอื พ ฒั นาเครื่องม อื ม าตรฐานทางการแ นะแนว
สาระสำคัญของการดำเนินการสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนวด้านการศึกษา
ด้านอาชีพ ด้านส่วนต ัวแ ละส ังคม สำหรับเด็ก วัยร ุ่น และผ ู้ใหญ่ มีดังนี้
3.1 กำหนดจ ดุ ม งุ่ ห มายในก ารพ ฒั นาเครอ่ื งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวด า้ นใดด า้ นห นง่ึ ท ตี่ อ้ งการ
จะพ ฒั นา เช่น ด้านก ารศึกษา ด้านอาชีพ หรือด ้านส ่วนตัวแ ละสังคม
3.2 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเคร่ืองมือมาตรฐานทางการแนะแนว
ท่ีต้องการพัฒนา จากการสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนำเครื่องมือทางการ
แนะแนวท ี่จะส ร้างขึ้นนั้นไปใช้ว ัด และจ ากก ารสัมภาษณ์บ ุคคลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าห มาย เช่น บิดาม ารดา
ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ เพื่อกำหนดลักษณะของสิ่งที่ต้องการวัดและควรจะสังเคราะห์โครงสร้างของสิ่งที่
ต้องการวัดว ่า ประกอบด้วยอ งค์ป ระกอบอะไรบ้าง หรือม ีรายล ะเอียดอย่างไร ครอบคลุมในเรื่องใดบ้าง แล้ว
จึงกำหนดน ิยามป ฏิบัติก ารข องส ิ่งท ี่ต ้องการวัดน ั้น ๆ
3.3 ดำเนินการเขียนข อ้ คำถามให้สอดคลอ้ งก บั น ิยามปฏิบตั ิการต ามลำดบั ดังนี้
3.3.1 ทำตาร างว ิเคราะหเ์ นอ้ื หาตามนิยามปฏบิ ัตกิ าร และจ ุดมุ่งหมายข องการส ร้างเครื่องมือ
ทางการแ นะแนวน ั้น ตารางว ิเคราะห์เนื้อหาน ั้นเป็นต ารางส องท างท ี่แ สดงถ ึงค วามส ัมพันธ์ร ะหว่างเนื้อหาแ ละ
พฤติกรรมที่ต ้องการให้เกิดข ึ้น
3.3.2 ลงมือเขียนข้อคำถามตามลักษณะของเคร่ืองมือที่ได้วางแผนไว้ เช่น แบบประมาณค่า
แบบกำหนดสถานการณ์และตัวเลือก แบบจัดอันดับ เป็นต้น นอกจากนี้ การเขียนข้อคำถามจะต้องเขียน
ข้อคำถามให้มีจำนวนข้อมากเพียงพอแก่การคัดเลือก และภาษาที่ใช้ในข้อคำถามต้องให้เหมาะสมกับ
กลุ่มเป้าห มาย
ลิขสิทธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช