Page 92 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 92

2-36 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

ตัว​ทางการ​เรียน การ​เผชิญป​ ัญหา​ใน​การเ​รียน การ​แก้​ปัญหาก​ าร​เรียน การเ​ลือก​แผนการ​เรียน การว​ างแผน​
การ​เรียนแ​ ละ​การต​ ัดสิน​ใจ​เลือกอ​ าชีพของเ​ด็ก วัย​รุ่น และ​ผู้ใหญ่

                 2)	เครื่องม​ อื ม​ าตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​ด้าน​การศ​ ึกษา​ท่เ​ี นน้ ​ทักษะพ​ สิ ยั เช่น
                     (1) สเกล​วัด​พฤติกรรม​การ​เรียน​และ​การ​ศึกษา​พฤติกรรม​การ​เรียน​ของ​เด็ก

(Learning Behaviors Scale: LBS and the Study of Children's Learning Behaviors: SCLB) สรา้ ง​โดย
ส​ทอทท์ แมคเด​อมอทท์ กรี​น และ​ฟ​รานซ​ ีส (Stott, McDermott, Green and Francis, 1988) เป็น​เครื่อง​มือ​
ที่​สร้าง​ข้ึน​เพ่ือ​ใช้​วัด​ทักษะ​พิสัย​เกี่ยว​กับ​แบบแผน​การ​เรียน​ของ​เด็ก โดย​ครู​เป็น​ผู้​สังเกต​และ​บันทึก​พฤติกรรม​
การ​เรยี น​ของเ​ดก็

                          ก.	สเกล​วัด​พฤติกรรม​การ​เรียน (LBS) เป็น​เครื่องมือ​ที่​สร้าง​ขึ้น​เพื่อ​ใช้​วัด​
พฤตกิ รรมท​ ไี​่ มพ​่ งึ ป​ ระสงคข​์ องเ​ดก็ ก​ อ่ นเ​ขา้ เ​รยี นอ​ นบุ าลแ​ ละเ​ดก็ อ​ นบุ าลเ​พือ่ ห​ าท​ างพ​ ฒั นาพ​ ฤตกิ รรมใ​หเ​้ ปน็ ไ​ป​
ในท​ ิศทางท​ ี่พ​ ึงป​ ระสงค์ โดยผ​ ู้ใ​ห้บ​ ริการแ​ นะแนวห​ รือค​ รูเ​ป็นผ​ ู้ส​ ังเกตแ​ ละบ​ ันทึกพ​ ฤติกรรม​ที่ไ​ม่พ​ ึงป​ ระสงค์​ที​่
เกิดข​ ึ้น ซึ่งไ​ด้แก่ พฤติกรรมท​ ี่​แสดงอ​ าการห​ งุดหงิด โมโห ไม่​พอใจ วอกแวก ไม่มีส​ มาธิ ไม่อ​ ยู่​นิ่ง หวาด​กลัว
เศร้า​ซึม หลีกเ​ลี่ยง และ​ไม่ใ​ห้ค​ วาม​ร่วมม​ ือ เพื่อห​ า​ทางช​ ่วยเ​หลือ​เด็กต​ ่อ​ไป

                          ข.	สเกล​วัด​การ​ศึกษา​พฤติกรรม​การ​เรียน (SCLB) เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​สร้าง​
ขึ้น​เพื่อ​ใช้​วัด​พฤติกรรม​การ​เรียน​ที่​ไม่​พึง​ประสงค์​ของ​นักเรียน​ระดับ​ประถม​ศึกษา​ปี​ที่ 1-4 โดย​ผู้​ให้​บริการ​
แนะแนวห​ รือค​ รูเ​ป็นผ​ ู้ส​ ังเกตพ​ ฤติกรรมท​ ี่ไ​ม่พ​ ึงป​ ระสงค์ ทีน่​ ักเรียนแ​ สดงออกโ​ดยม​ ีพ​ ฤติกรรมเ​ช่นเ​ดียวก​ ับ​ที​่
ระบุใ​น​สเกลว​ ัด​พฤติกรรม​การเ​รียน (LBS) เพื่อ​หา​ทางช​ ่วยเ​หลือ​นักเรียนใ​ห้ม​ ีพ​ ฤติกรรมท​ ี่พ​ ึงป​ ระสงค์ต​ ่อ​ไป

                     (2) แบบว​ ัด​ยุทธวิธก​ี ารเ​รียนแ​ ละก​ ารศ​ กึ ษา (Learning and Study Strategies
Inventory: LASSI) สรา้ งโ​ดยว​ ีนส​ไตนแ​์ ละ​พาลเ​ม​อร์ (Weinstein and Palmer, 1987) เป็นเ​ครื่อง​มือท​ ่​ีสรา้ ง​
ข้ึน​เพ่ือ​ใช้​วัด​วิธี​ปฏิบัติ​ตน​ทางการ​ศึกษา​เล่า​เรียน​ของ​วัย​รุ่น ท่ี​แสดง​ให้​ทราบ​ถึง​เจตคติ​ท่ี​มี​ต่อ​การ​เรียน ความ​
สนใจ​ใน​การ​เรียน แรง​จูงใจ​ใน​การ​เรียน การ​บริหาร​เวลา​ใน​การ​เรียน สมาธิ​และ​ความ​เอาใจ​ใส่​ใน​การ​เรียน
กระบวนการศ​ กึ ษาห​ าความร​ ู้ การเ​ลอื กป​ ระเดน็ แ​ ละส​ าระข​ อ้ มลู ท​ ส​่ี ำคญั ใ​นก​ ารเ​รยี น การร​ จู้ กั ใ​ชเ​้ ทคโนโลยตี​ า่ งๆ
ใน​การ​แสวงหา​ความ​รู้ การ​ทบทวน​บท​เรียน การเต​รี​ยม​ตัว​ใน​การ​เรียน​และ​การ​ทดสอบ​ตนเอง การเต​รี​ยม​ตัว​
สอบ​และ​กลยทุ ธใ​์ นก​ าร​สอบ และ​ความว​ ิตกก​ งั วลใ​น​การเ​รียน แบบ​วัด​ยุทธวิธ​ีการเ​รียนน​ ี​้เหมาะ​สำหรับ​วยั ​รนุ่ ท​ ​ี่
มีอายต​ุ ัง้ แต่ 13 ปีถ​ ึง 19 ปี และ​ม​ีปกตว​ิ สิ ยั ​เพ่อื ​ใชใ​้ น​การต​ รวจ​สอบ​วา่ ยุทธวิธก​ี าร​เรยี นแ​ ละก​ ารศ​ กึ ษาข​ อง​วยั ร​ ุ่น​
อย​ู่ใน​ระดับ​ใด​เมื่อ​เปรียบเ​ทียบก​ บั ​คะแนนม​ าตรฐาน

       2.2 การ​กำหนด​ขอบข่าย​ของ​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​ท่ี​ต้องการ​พัฒนา​ด้าน​อาชีพ
ได้แก่

            2.2.1	 การก​ ำหนดข​ อบขา่ ยข​ องเ​ครอ่ื งม​ อื ม​ าตรฐานท​ างการแ​ นะแนวท​ ต​ี่ อ้ งการพ​ ฒั นาด​ า้ นอ​ าชพี ​
ที​่เนน้ ​พุทธ​ิพสิ ัย

                 1)	 ขอบข่าย​เนื้อหา​ของ​เคร่ือง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​ด้าน​อาชีพ​ท่ี​เน้น​พุทธิ​พิสัย
ได้แก่ การร​ ับ​รู้​เกี่ยว​กับอ​ าชีพ การส​ ำรวจ​อาชีพ วุฒิ​ภาวะ​ด้านอ​ าชีพ​ซึ่ง​ประกอบ​ด้วยส​ มรรถนะแ​ ละเ​จตคติ​ต่อ​
อาชีพ ความร​ ู้​เกี่ยว​กับ​อาชีพ เป็นต้น

                           ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97