Page 90 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 90
2-34 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
2.1.1 การกำหนดขอบข่ายของเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนวด้านการศึกษาท่ีเน้น
พทุ ธพิ สิ ยั
1) ขอบข่ายเนื้อหาของเคร่ืองมือมาตรฐานทางการแนะแนวด้านการศึกษาท่ีเน้น
พทุ ธพิ สิ ยั ประกอบด ว้ ย ความพ รอ้ มท างการเรยี น ความส ามารถในก ารเรยี น ความถ นดั ท างการเรยี น ความจ ำ
ความคิดวิจารณญาณด้านการเรียน และเชาวน์ปัญญาซึ่งมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการรู้คิด ซึ่งได้แก่
เชาวนป์ ญั ญาด า้ นค วามร ขู้ า่ วสารท ัว่ ไป (General Information) เชาวนป์ ญั ญาด า้ นค ณติ ศาสตร์ เชาวนป์ ญั ญา
ด้านการคิดวิเคราะห์ เป็นต้น ซึ่งขอบข่ายเนื้อหาของเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนวด้านการศึกษาที่
เน้นพ ุทธิพิสัยนี้ สามารถนำม าใช้ได้ก ับเด็ก วัยร ุ่น และผู้ใหญ่ โดยมีเกณฑ์การใช้แตกต ่างกันต ามร ะดับอ ายุ
หรือร ะดับก ารศึกษาข องผ ู้รับบริการ ซึ่งจะปรากฏในขั้นตอนข องก ารดำเนินการใช้เครื่องม ือมาตรฐานแต่ละ
ประเภท
2) เครือ่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวด า้ นก ารศ กึ ษาท เี่ นน้ พ ทุ ธพิ สิ ัย ได้แก่ เครื่องม ือ
ต่างๆ ที่ส อดคล้องก ับข อบข่ายเนื้อหาข องเครื่องม ือม าตรฐานท างการแ นะแนวด ้านก ารศ ึกษาท ี่เน้นพ ุทธิพ ิสัย
ดังนี้
(1) แบบส ำรวจค วามพ รอ้ มท างการเรยี น (School Readiness Survey) สรา้ งโดย
จอร์แดนแ ละแ มสเซย์ (Jordan and Massay, 1967) ใชส้ ำรวจความพ รอ้ มท างการเรียนข องเดก็ ต ง้ั แต่อายุ 4
ขวบถงึ 6 ขวบ
(2) แบบทดสอบค วามค ดิ พ น้ื ฐาน (Test of Basic Concept) สรา้ งและป รบั ปรุง
เป็นคร้ังที่ 3 โดยโบเอม (Boehm, 2000) ประกอบด้วยแบบทดสอบ 2 ฉบับ ฉบับแรกใช้ทดสอบความคิด
พ้นื ฐานของเด็กอายุ 3 ขวบถ งึ 5 ขวบ 11 เดอื น อกี ฉบับหนึ่งใช้ทดสอบความคิดพ ้นื ฐ านของเด็กอ ายุ 5 ขวบถ ึง
8 ปี และมีปกตวิ ิสยั จำแนกตามอ ายุ
(3) แบบท ดสอบค วามส ามารถท ไี่ มใ่ ชภ้ าษาข องแ นก ลเิ ออร์ (Naglieri Nonverbal
Ability Test: NNT) สรา้ งโดยแนก ลิเออร์ (Naglieri, 1997) เป็นแบบทดสอบท ่ีใชว้ ัดค วามสามารถโดยท วั่ ไป
เกย่ี วก บั เหตุผลและก ารแกป้ ัญหาโดยไม่ใชภ้ าษาถ อ้ ยคำ (Nonverbal Reasoning and Problem Solving
Ability) แตใ่ ช้ภาพร ปู ท รงตา่ งๆ และลวดลายต ่างๆ ใช้ท ดสอบกบั ผ รู้ บั การท ดสอบทีม่ อี ายุต ้งั แต่ 5 ขวบถึง 17
ปี โดยไมค่ ำนึงถงึ ว ัฒนธรรม จะเป็นผ ู้รับก ารทดสอบว ฒั นธรรมใด เช้อื ช าติใดกไ็ ด้ และม ปี กตวิ ิสยั จำแนกตาม
ระดับอายขุ องผ ู้รบั การทดสอบ
(4) แบบท ดสอบค วามส ามารถท างการเรยี น เชน่ แบบท ดสอบศ พั ทร์ ปู ภาพพ บี อดี้
(Peabody Picture Vocabulary Test-III: PPVT-III) สรา้ งโดย ดัน และดัน (Dunn and Dunn, 1997) เป็น
แบบทดสอบมาตรฐานท ่ีใช้วัดความสามารถทางภาษาโดยใช้รูปภาพ ใช้ทดสอบกับผู้รบั การทดสอบตั้งแต่อายุ
2 ขวบ 6 เดือน ถึงอ ายุ 90 ปี 6 เดือน ลกั ษณะแบบท ดสอบจะยากง า่ ยตามร ะดับอายุ และม ปี กติวิสยั จ ำแนก
ตามระดบั อายุ
(5) แบบท ดสอบผ ลส มั ฤทธท์ิ างการเรยี น เชน่ แบบท ดส อบส มั ฤท ธผิ ลส แ ตนฟ อ รด์
(Stanford Achievement Test) สรา้ งโดย เคลล ่ี แมดเด็น การด์ เนอร์ เทอรแ์ มน และรชู (Kelly, Madden,
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช