Page 86 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 86
2-30 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
ขอ้ มลู เชงิ ป ระจกั ษ์ แตต่ า่ งก นั ต รงท กี่ ารห าค า่ ค วามเทย่ี งต งั้ อ ยบู่ นข อ้ มลู เชงิ ป ระจกั ษโ์ ดยม ไิ ดส้ นใจท ฤษฎที เ่ี ปน็
พนื้ ฐ านในก ารว ดั แตค่ วามต รงก ลบั เนน้ ไปท ท่ี ฤษฎซี งึ่ เปน็ พ นื้ ฐ านก ารว ดั ในเรอื่ งน นั้ แลว้ ค น้ หาส ง่ิ ท เ่ี กย่ี วขอ้ งก บั
ทฤษฎีนน้ั ด ว้ ยข อ้ มูลเชิงป ระจักษ์
2) การป ระเมนิ ค วามตรงและค วามเท่ยี ง
(1) การประเมินความตรง ความตรงไม่ได้เกิดจากตัวแบบทดสอบ หากแต่เกิด
ข้นึ จากก ารแปลความห มายของข้อมลู ท ไี่ ด้จากวธิ กี ารเฉพาะวธิ หี นงึ่ นน่ั คอื ความต รงเน้นไปท ่ีการขยายอ ้างอิง
(Inference) ไปส สู่ งิ่ ท เ่ี ครอ่ื งม อื ช นดิ น น้ั ๆ หรอื แ บบท ดสอบช นดิ น นั้ ๆ ตอ้ งการจ ะว ดั โดยผ ลท ไ่ี ดจ้ ากก ารว ดั ค อื
คะแนนเป็นพน้ื ฐ านของการอ า้ งอิง
การขยายอ้างอิงจากคะแนนท่ีได้จากแบบทดสอบไปสู่ความตรงของแบบทดสอบ
จะต้องอาศัยวิธีการหลายๆ วิธีเพื่อสนับสนุน มิใช่การใช้หลักฐานจากการตรวจสอบข้อมูลเชิงประจักษ์จาก
เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หน่ึงเพียงเหตุการณ์เดียว เพราะความตรงที่ได้จากพยานหลักฐานน้ันๆ จะไม่มีความ
คงทนเพยี งพ อ เมอ่ื เวลาผ า่ นไปเหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ พ ยานห ลกั ฐ านก ส็ ามารถเปลยี่ นแปลงไปต ามเงอื่ นไขท างส งั คม
ที่เปลย่ี นแปลงไปห รอื เมือ่ ม ขี ้อค ้นพ บใหมๆ่ เกิดข ึ้น
ตวั อยา่ งก ารป ระเมนิ ค วามต รง ในก ารต รวจส อบห าความต รง สามารถใชว้ ธิ วี เิ คราะห์
องค์ประกอบ (Factor Analysis) เพอ่ื ศ กึ ษาว่าแ บบท ดสอบ หรือแบบวดั หรอื เคร่ืองมอื ที่สร้างข้นึ จ ะต รงกับ
องค์ประกอบที่ได้กำหนดหรือไม่ โดยตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเชิงประจักษ์กับโครงสร้าง
องค์ประกอบของสิ่งที่ต้องการวัดที่ตั้งเอาไว้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเชิงประจักษ์กับโครงสร้าง
องค์ประกอบข องความฉ ลาดท างอ ารมณท์ ต่ี ั้งเอาไว้
การวิเคราะห์องค์ประกอบ สามารถใช้เป็นเครื่องมือตรวจสอบความตรงเชิง
โครงสร้าง (Construct Validity Tool) ของตัวแปรว่ามีโครงสร้างตามที่นิยามไว้ทางทฤษฎีหรือไม่ และ
สอดคล้องกลมกลืนกับสภาพที่เป็นจริงอย่างไร อีกท้ังการวิเคราะห์องค์ประกอบยังใช้ในการพัฒนาทฤษฎีอีก
ด้วย (นงลักษณ์ วิรชั ช ัย 2538: 15)
(2) การประเมินความเท่ียง ความเท่ียงเป็นคุณสมบัติของเคร่ืองมือวัด หมายถึง
ความค งเสน้ ค งว าข องผ ลท ไี่ ดจ้ ากก ารว ดั เมอื่ ม กี ารกร ะท ำซ ำ้ ๆ การห าความเทยี่ ง สามารถค ำนวณไดโ้ ดยใชส้ ถติ ิ
วิเคราะห์ความส ัมพันธ์ ซ่งึ มหี ลายว ิธี เช่น
ก. การวัดความคงที่ (Measure of Stability) ได้แก่ การส อบวัดซ้ำ โดย
ใช้เครื่องมือว ัดชุดเดียวกัน (Test-Retest) แล้วนำผ ลจากการว ัดท ั้งสองครั้งมาหาความส ัมพันธ์
ข. การว ัดค วามเท่ากัน (Measure of Equivalence) ได้แก่ การส อบโดย
ใช้ข้อสอบค ู่ข นาน (Parallel Form)
ค. การวัดความคงที่ภายใน (Measure of Internal Consistency) ใช้
ความส ัมพันธ์ร ะหว่างข ้อความท ี่ม ีอ ยู่ภ ายในแบบวัดช ุดเดียวกัน เป็นการตรวจส อบค วามเป็นเอกพ ันธ์
3) การห าค า่ ค วามย ากง า่ ย (Difficulty แทนด ว้ ย p) เครื่องม ือม าตรฐานท างการแ นะแนว
ที่จะต้องหาค่าความยากง่ายนั้น ส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือที่วัดทางด้านพุทธิพิสัย เช่น เครื่องมือที่ใช้วัด
ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช