Page 87 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 87
การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-31
เชาวน์ปัญญา ความถนัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นต้น เครื่องมือประเภทนี้จะต้องมีค่าความยากง่าย
พอเหมาะ คือมีความยากง่ายอยู่ระหว่าง .20 ถึง .80 ถ้าเครื่องมือนั้นมีค่าความยากง่ายต่ำกว่า .20 ถือว่า
ข้อคำถามของเครื่องมือนั้นยากไป และถ้าเครื่องมือนั้นมีค่าความยากง่ายสูงกว่า .80 ถือว่าข้อคำถามของ
เครื่องมือนั้นง ่ายไป ดังน ั้น การออกข ้อคำถามหรือข ้อสอบให้ม ีความยากง่ายพอดี คือ p = .50 นั้น ต้องน ำ
ไปทดลองสอบหลายๆ ครั้ง แต่ละครั้งก็จะต้องปรับปรุงข้อคำถาม จนกว่าจะได้ข้อคำถามที่มีค่าใกล้เคียง
กับ p = .50
4) การหาค ่าอำนาจจ ำแนก (Discrimination แทนดว้ ย D) เครื่องมือมาตรฐานท างการ
แนะแนวท ี่มีข้อคำถามที่สามารถแ บ่งก ลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มค ือ กลุ่มเก่ง และกลุ่มอ่อน หรือก ลุ่มท ี่ม ี
ความร ู้สึกคล้อยต ามกับกลุ่มท ี่มีความร ู้สึกไม่คล้อยตามได้เด่นชัด แสดงว ่า ข้อคำถามของเครื่องมือนั้นๆ มี
ค่าอ ำนาจจ ำแนกด ี ในก ารห าค ่าอ ำนาจจ ำแนกน ั้นจ ะข ึ้นก ับล ักษณะข องเครื่องม ือช นิดน ั้นๆ โดยส ามารถห าค ่า
อำนาจจำแนกโดยวิธีก ารแจกแจงที (t-distribution) หรือใช้วิธีเทคนิค 27 เปอร์เซ็นต์ จากต าราง เจต ุแ ฟน
(Chung-Teh Fan) หรือใช้ว ิธีห าค ่าส หส ัมพันธ์แ บบไบซ ีเรียล (Biserial Correlation) หรือใช้ว ิธีก ารห าห รือ
ใช้ว ิธีก ารหาค ่าสหส ัมพันธ์แบบพอยท์ ไบซ ีเรียล (Point Biserial Correlation) หรือโดยใช้สูตรส ัดส่วนโดย
ดูจ ากส ัดส่วนของก ลุ่มเก่งแ ละส ัดส่วนของกลุ่มอ ่อน เป็นต้น
4. ประโยชน์ท จ่ี ะน ำเครอื่ งม อื มาตรฐานท างการแ นะแนวไ ปใชใ้ นงานแนะแนว
การส ร้างห รือพ ัฒนาเครื่องม ือม าตรฐานท างการแ นะแนว เพื่อน ำไปใชใ้นก ารว ัดห รือป ระเมินล ักษณะ
ต่างๆ ของผ ู้รับบ ริการ เพื่อค ัดเลือกบ ุคคลแ ละจ ัดต ำแหน่งบ ุคคลในก ารเรียนห รือการท ำงาน เพื่ออ ธิบายแ ละ
เพื่อวินิจฉัยลักษณะต่างๆ ตลอดทั้งเรื่องราวหรือปัญหาของผู้รับบริการ เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของ
พัฒนาการด ้านต ่างๆ ของผ ู้รับบ ริการเพื่อท ำนายค วามส ำเร็จข องผ ู้รับบ ริการในด ้านก ารศ ึกษา ด้านก ารท ำงาน
หรอื ด า้ นช วี ติ ค วามเปน็ อ ยหู่ รอื ร ปู แ บบช วี ติ เพือ่ ร ายงานผ ลข องผ ูร้ บั บ รกิ ารท ัง้ ด า้ นก ารเรยี น การศ กึ ษา การป รบั
ตัว การทำงาน การดำรงชีวิตทั้งด ้านส ่วนตัวแ ละสังคมให้ผ ู้ที่เกี่ยวข้องร ับทราบ และเพื่อเป็นข้อมูลย ้อนกลับ
ให้กับค รู บิดามารดา ผู้ป กครอง หรือบ ุคคลที่เกี่ยวข้องทราบ เพื่อพัฒนาผ ู้รับบริการในด้านต ่างๆ ต่อไป ซึ่ง
จะเป็นป ระโยชน์ต่อผู้ให้บริการแนะแนว ผู้รับบ ริการแ นะแนว และองค์กร ดังสาร ะสำคัญๆ ดังนี้ (American
Association for Counseling and Development, 1980)
4.1 ประโยชน์ท่ีจะนำเคร่ืองมือมาตรฐานทางการแนะแนวไปใช้ในงานแนะแนวต่อผู้ให้บริการ
แนะแนว
4.1.1 ผู้ให้บ ริการแนะแนว ได้ทราบข ้อมูลต่างๆ ของผู้รับบริการม ากขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์
ในการวางแผนให้ความช่วยเหลือ พัฒนา ตลอดทั้งหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและป้องกันปัญหาของผู้รับ
บริการ และติดตามผลข องการให้บริการแนะแนวต่อไป
4.1.2 ผใู้ หบ้ รกิ ารแ นะแนว จะไดน้ ำผ ลก ารใชเ้ ครือ่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนว มาพ จิ ารณา
ทั้งข้อดีและข้อบกพร่องเกี่ยวกับเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนวที่นำไปใช้ เพื่อจะได้นำมาปรับปรุง
เครื่องมือแนะแนวน ั้นๆ ให้ม ีประสิทธิภาพยิ่งข ึ้น
ลขิ สิทธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช