Page 83 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 83
การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-27
(2) ประเภทท ่ีรายงานโดยผ ู้อ่ืน (Other Report) คำว่า ผู้อน่ื ในท่ีนหี้ มายถึง ผใู้ ห้
บริการแนะแนวหรือครู หรือบิดามารดาผู้ปกครองหรือบุคคลอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เป็นผู้สังเกตพฤติกรรมหรือ
การแสดงออกท้ังภาษาถ้อยคำและภาษาท่าทางของผู้ถูกสังเกต ซึ่งอาจจะเป็นผู้รับบริการแนะแนว ผู้รับ
การท ดสอบ นกั เรียน นสิ ติ นกั ศกึ ษา ผ้ใู หญ่ในห น่วยง านต า่ งๆ หรือในครอบครวั โดยผสู้ งั เกตจะส งั เกตและ
บนั ทกึ พ ฤตกิ รรมข องผ ถู้ กู ส งั เกตอ ยา่ งเปน็ ร ะบบ เพอ่ื น ำข อ้ มลู ท ไี่ ดจ้ ากก ารส งั เกตม าว เิ คราะห์ สงั เคราะห์ วนิ จิ ฉยั
เพอ่ื ห าทางป รับปรงุ แกไ้ ข หรอื พฒั นาพ ฤติกรรมน้ันๆ ต่อไป
2) แบบบันทึกพฤติกรรม เป็นเครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ได้กับเครื่องมือประเภทที่
รายงานด้วยต นเอง และประเภทที่ร ายงานโดยผู้อ ื่น โดยผู้สังเกตไม่ว่าจ ะเป็นบุคคลที่เป็นเจ้าของพ ฤติกรรม
หรือบุคคลอื่น สามารถบันทึกจำนวนครั้งหรือความถี่ของพฤติกรรมที่ประสงค์จะสังเกตที่เกิดขึ้นในเวลาที่
กำหนด หรือผู้สังเกตอาจจะแ บ่งเวลาที่จ ะส ังเกตออกเป็นช่วงๆ แล้วบันทึกพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วง
นั้น
3) วธิ สี งั เกตแ ละบ นั ทกึ พ ฤตกิ รรม ผูส้ ังเกตพ ฤติกรรมข องต นเองห รือส ังเกตพ ฤติกรรม
ของผู้อื่นสามารถเลือกการสังเกตแบบสุ่มเหตุการณ์ (Event Sampling) หรือแบบสุ่มเวลา (Time Sam-
pling)
(1) การส งั เกตพ ฤตกิ รรมแ บบส มุ่ เหตกุ ารณ์ เปน็ การเลอื กส งั เกตเฉพาะพ ฤตกิ รรม
ทีต่ ้องการศกึ ษาในช่วงเวลาห น่งึ ๆ เท่านนั้ โดยบนั ทกึ จ ำนวนครงั้ หรอื ค วามถ่ีของพ ฤติกรรมท ่ีตอ้ งการจะศ กึ ษา
ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สังเกตนั้น ไม่ว่าพฤติกรรมท่ีต้องการจะศึกษานั้นจะเกิดกี่คร้ัง ก็จะต้องบันทึกทุกคร้ังที่
พฤตกิ รร มน นั้ ๆ เกิดข้ึน เชน่ เมื่อค รูใหน้ กั เรยี นออกไปพูดหนา้ ช ัน้ เรียนคร้ังใด นักเรยี นค นน ้ันก จ็ ะพดู ต ดิ อ่าง
ทุกค ร้ัง ทั้งๆ ทใี่ นเวลาอ ่ืนๆ นกั เรียนก็พูดไมต่ ดิ อ ่าง ผสู้ ังเกตอาจจะเป็นค รู หรือผ ู้ให้บริการแนะแนวจ ะสังเกต
และบ นั ทกึ จ ำนวนค รง้ั ท นี่ กั เรยี นพ ดู ต ดิ อ า่ งเฉพาะในช ว่ งเวลาท น่ี กั เรยี นต อ้ งอ อกไปพ ดู ห รอื ร ายงานห นา้ ช น้ั เรยี น
คนเดียว และอาจจะบันทกึ อาการต่างๆ ท่ีนกั เรียนแสดงออกด้วย เช่น พดู เสยี งสัน่ พดู ตะกกุ ตะกัก ปากส่นั
ไม่สบตาผู้ฟัง มองพื้นห้อง หน้าแดง มือเกร็ง ขาส่ัน เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมที่สังเกตได้น้ี ผู้สังเกตจะได้เก็บ
รวบรวมเปน็ ขอ้ มูล เพ่อื นำไปวิเคราะห์ วินิจฉัย เพอื่ ห าทางให้ความช ่วยเหลือนกั เรียนค นคนน้ันต ่อไป
ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช