Page 79 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 79
การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-23
1.1.3 ลักษณะของสิ่งที่ต้องการวัดทางการแนะแนวด้านการศึกษาที่เน้นทักษะพิสัย เช่น
พฤติกรรมการเรียน ยุทธวิธีในการเรียน การบริหารเวลาในการเรียน การปรับตัวทางการเรียน ความขยัน
หมั่นเพียรในการเรียน ความอ ุตสาหะในการเรียน เป็นต้น
ตัวอย่างน ิยามป ฏิบัติการของค วามอ ุตสาหะในการเรียน
ความอุตสาหะในการเรียน หมายถึง ความมุ่งมั่นของนักเรียน นิสิต นักศึกษาที่จะศึกษา
หาความร ู้ด้านก ารเรียนด ้วยค วามพยายาม ขยัน อดทน เพื่อให้ป ระสบค วามสำเร็จในการเรียนโดยไม่ย่อท้อ
ต่ออุปสรรคท ี่เกิดข ึ้นจากต ัวผู้เรียนหรือส ภาพแวดล้อม ได้แก่ มีความร ับผิดชอบต ่อตนเองท างการเรียน มี
ความเพียรพยายามในการเรียน วางแผนและจัดระบบการเรียน ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่มที่ได้รับ
มอบหมาย และในกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา พยายามทำงานที่ได้รับมอบหมายให้
สำเร็จ และเมื่อป ระสบอุปสรรคก็ห าทางแ ก้ไข
1.2 ลักษณะของส่ิงท่ีต้องการวัดทางการแนะแนวด้านอาชีพ ที่เน้นพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะ
พิสัย ที่สำคัญๆ มีดังนี้
1.2.1 ลักษณะของสิ่งท่ีต้องการวัดทางการแนะแนวด้านอาชีพที่เน้นพุทธิพิสัย เช่น การรับรู้
หรือก ารตระหนักร ู้ด ้านอาชีพ การสำรวจอ าชีพ สมรรถนะด้านอาชีพ เป็นต้น
ตัวอย่างน ิยามป ฏิบัติก ารของก ารรับร ู้ด้านอาชีพ
การร ับร ดู้ ้านอ าชีพ หมายถ งึ การท เี่ดก็ วยั ร ุน่ หรอื ผ ู้ใหญม่ คี วามร คู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วก ับล กั ษณะ
อาชีพ คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพ การเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ และการประสบความสำเร็จในอาชีพ ดัง
รายล ะเอียดต่อไปน ี้
1) ลักษณะอาชีพ ได้แก่ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับคน อาชีพที่เกี่ยวข้องกับสิ่งของ อาชีพที่
เกี่ยวข้องกับข ้อมูล และอาชีพท ี่เกี่ยวข้องก ับค วามค ิด
2) ลักษณะข องผู้ประกอบอาชีพ ได้แก่ ความรับผ ิดช อบ ความก ระตือรือร้น ความค ิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความตั้งใจ ความข ยัน และการม ีมนุษยสัมพันธ์
3) การเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ ได้แก่ การเลือกแผนการเรียน การเลือกอาชีพตามความ
สนใจ ความถนัด ความส ามารถของต นเอง และค วามต้องการข องตลาดแ รงงาน
4) การป ระสบค วามส ำเร็จในอ าชีพ ได้แก่ รายได้ ความก ้าวหน้า ความม ั่นคง และค วาม
มีชื่อเสียง
1.2.2 ลกั ษณะข องสงิ่ ท ตี่ อ้ งการวัดทางการแนะแนวด้านอาชีพที่เน้นจติ พสิ ยั เช่น ความส นใจ
ในอ าชีพ เจตคติที่มีต ่ออ าชีพ ค่าน ิยมในอ าชีพ ความวิตกก ังวลในการทำงาน ความเครียดในก ารปฏิบัติง าน
เป็นต้น
ตัวอย่างนิยามปฏิบัติการของค ่านิยมในอาชีพ
ค่าน ิยมในอ าชีพ หมายถ ึง สิ่งท ี่เด็ก วัยร ุ่น หรือผ ู้ใหญ่ เชื่อว ่าม ีค วามส ำคัญในก ารเลือกอ าชีพ
ของเขา สิ่งต ่างๆ เหล่าน ีเ้ป็นค วามร ู้สึกพ อใจท ีแ่ ต่ละบ ุคคล มักจ ะแ สวงหาจ ากอ าชีพท ีเ่ขาท ำ สิ่งท ีค่ นเราย ึดถือ
แตล่ ะอ ยา่ งน ี้ มคี วามส ำคญั ไมเ่ ทา่ เทยี มก นั เสมอไป บางอ ยา่ งอ าจม คี วามส ำคญั ม ากต อ่ ค นบ างค น แตบ่ างอ ยา่ ง
ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช