Page 74 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 74

2-18 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

            ตัวอย่าง เครื่อง​มือม​ าตรฐาน​ทางการแ​ นะแนวด​ ้าน​ส่วน​ตัว เช่น
                 1)	แบบส​ ำรวจค​ วามภ​ าคภ​ มู ใิ จใ​นต​ นเอง (Self-Esteem Inventories: SES) เปน็ แ​ บบส​ ำรวจ​

มาตรฐานส​ ร้าง​โดย​คูเ​ปอร์​สมิท (Coopersmith, 1981) เมื่อ ค.ศ. 1981 และป​ รับปรุงใ​หม่​ในป​ ี ค.ศ. 1990 มี
2 ฟอร์ม ฟอร์มแ​ รก​สำหรับ​เด็ก​อายุ​ตั้งแต่ 8 ปีจ​ นถึงว​ ัยร​ ุ่นอ​ ายุ 15 ปี อีก​ฟอร์มห​ นึ่งส​ ำหรับ​วัย​รุ่นอ​ ายุ 16 ปี
จนถึงผ​ ู้ใหญอ่​ ายุ 34 ปี แบบส​ ำรวจค​ วามภ​ าคภ​ ูมิใจใ​นต​ นเองน​ ีส้​ ร้างข​ ึ้นเ​พื่อว​ ัดเจตคตขิ​ องบ​ ุคคลท​ ีม่​ ตี​ ่อต​ นเอง
การ​ยอมรับ​หรือ​ไม่​ยอมรับ​ตนเอง ความ​เชื่อ​ใน​ศักยภาพ​ของ​ตนเอง ความ​สำเร็จ​ของ​ตนเอง​ตลอด​ทั้ง​คุณค่า​
ของ​ตนเอง

                 สำหรับ​ฟอร์ม​แรก​หรือ​เรียก​ว่า School Form นั้น​เป็น​ฟอร์ม​ที่​ใช้​วัด​ความ​ภาค​ภูมิใจ​ 
ใน​ตนเอง​ของ​เด็ก​และ​วัย​รุ่น​ที่​กำลัง​ศึกษา​ใน​สถาบัน​การ​ศึกษา แบบ​สำรวจ​ความ​ภาค​ภูมิใจ​ใน​ตนเอง​ฉบับ​
นี้ จะใ​ช้​วัด​ความ​รู้สึก​ของเ​ด็ก​และว​ ัยร​ ุ่นท​ ี่​มีต​ ่อ​ตนเอง​เกี่ยว​กับ การ​ยอมรับต​ นเอง การไ​ด้​รับก​ ารย​ อมรับ​จาก
​กลุ่ม​เพื่อน การ​ได้​รับ​การ​ยอมรับ​จาก​ผู้​ปกครอง การ​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ทางการ​เรียน ความ​รู้สึก​ต่างๆ
ดังก​ ล่าว​นี้ ทำให้​ทราบ​ว่า​เด็ก​และว​ ัยร​ ุ่นร​ ู้สึกพ​ ึงพ​ อใจแ​ ละเ​ห็นค​ ุณค่า​ใน​ตนเองม​ ากน​ ้อย​เพียง​ใด

                 แบบส​ ำรวจค​ วาม​ภาค​ภูมิใจใ​นต​ นเองท​ ั้ง 2 ฟอร์มน​ ี้ ใช้​เวลาต​ อบ​ประมาณ 15 นาที ใช้​
ทดสอบไ​ด้ท​ ั้งเ​ป็นก​ลุ่มแ​ ละร​ าย​บุคคล ผลก​ าร​ทดสอบ​จะ​ทำให้​ทราบว​ ่า ผู้รับก​ าร​ทดสอบ​มีค​ วามภ​ าค​ภูมิใจใ​น​
ตนเอง​มาก​น้อย​เพียง​ใด เมื่อ​ผู้รับ​การ​ทดสอบ​ตอบ​แบบ​สำรวจ​ดัง​กล่าว​เรียบร้อย​แล้ว จะ​นำ​คะแนน​ดิบ​ที่​ได้​
มา​แปลง​เป็นค​ ะแนนม​ าตรฐาน เพื่อเ​ปรียบ​เทียบ​กับป​ กติว​ ิสัยต​ ่อ​ไป

                 2) 	แบบส​ ำรวจก​ ารแ​ กป​้ ญั หา (Problem Solving Inventory: PSI) เปน็ แ​ บบส​ ำรวจม​ าตรฐาน
สร้าง​โดย เฮบบ์​เนอ​ร์ (Heppner, 1988) ใน​ปี ค.ศ. 1988 เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​ใช้​ประเมิน​การ​รับ​รู้​เกี่ยว​กับ​
พฤติกรรม​และ​เจตคติใ​น​การ​แก้ป​ ัญหา ประกอบ​ด้วย 3 สเกลค​ ือ สเกล​ที่​ใช้​วัด​ความเ​ชื่อ​มั่น​ใน​การแ​ ก้​ปัญหา
รปู แ​ บบก​ ารแ​ กป​้ ญั หา และก​ ารค​ วบคมุ อ​ ารมณแ​์ ละพ​ ฤตกิ รรมข​ องต​ นเองข​ ณะแ​ กป​้ ญั หา แบบส​ ำรวจน​ ี้ นอกจาก​
จะ​ใช้​ประเมิน​กระบวนการ​แก้​ปัญหา​ของ​แต่ละ​บุคคล​แล้ว ยัง​มี​ประโยชน์​ใน​การ​ประเมิน​รูป​แบบ​การ​เผชิญ​
ปัญหา (Coping Style) ของบ​ ุคคลน​ ั้น เป็นแ​ บบส​ ำรวจท​ ีเ่​หมาะส​ ำหรับว​ ัยร​ ุ่นท​ ีก่​ ำลังศ​ ึกษาใ​นร​ ะดับอ​ ุดมศึกษา
และ​ผู้ใหญ่ และ​ใช้เ​วลา​ตอบ​ประมาณ 10-15 นาที ใช้​ทดสอบไ​ด้ท​ ั้ง​เป็นกล​ ุ่ม​และ​รายบ​ ุคคล ผลก​ ารท​ ดสอบ​
จะท​ ำให้ท​ ราบว​ ่าผ​ ู้รับก​ ารท​ ดสอบม​ ีพ​ ฤติกรรมแ​ ละเ​จตคติใ​นก​ ารแ​ ก้ป​ ัญหาอ​ ย่างไร อย่างไรก​ ็ตาม แบบส​ ำรวจ​
นี้​มิได้​นำ​มา​ใช้​วัด​ทักษะ​ใน​การ​แก้​ปัญหา คะแนน​ที่​ได้​จาก​การ​ตอบ​แบบ​สำรวจ​นี้​จะ​นำ​มา​แปลง​เป็น​คะแนน​
มาตรฐาน​เพื่อเ​ปรียบเ​ทียบ​กับ​ปกติ​วิสัย​ต่อไ​ ป

       3.2	 ขอบข่าย​ของ​การ​พัฒนา​เคร่ือง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​ด้าน​สังคม แบ่ง​เป็น​ขอบข่าย
เนื้อหา​ทางการ​แนะแนว​ด้าน​สังคม และเ​ครื่องม​ ือม​ าตรฐานท​ างการแ​ นะแนวด​ ้าน​สังคม

            3.2.1	 ขอบขา่ ยเ​นอ้ื หาท​ างการแ​ นะแนวด​ า้ นส​ งั คม ประกอบด​ ว้ ยเ​นือ้ หาต​ า่ งๆ ดงั นี้ สมั พนั ธภาพ​
ระหว่าง​บุคคล สภาพ​แวดล้อม​ทาง​สังคม (Social Environment) ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย สภาพ​แวดล้อม​ใน​การ​
ทำงาน สภาพแ​ วดล้อมใ​นค​ รอบครัว สภาพแ​ วดล้อมใ​นช​ ั้นเ​รียน โดยเ​น้นป​ ฏิสัมพันธ์ท​ ี่เ​กี่ยวข้องก​ ับส​ มาชิกใ​น​
หน่วย​งาน ในค​ รอบครัว และใ​น​ชั้น​เรียน การ​ปรับ​ตัวด​ ้าน​ต่างๆ ทั้ง​ที่​เกี่ยว​กับ​ด้านค​ รอบครัว สุขภาพ สังคม
อารมณ์ และ​อาชีพ การ​สื่อสาร เป็นต้น

                           ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79