Page 72 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 72
2-16 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
นอกจากนี้ การให้บริการแนะแนวด้านอาชีพจะมีคุณค่ายิ่งขึ้น ถ้าใช้แบบสำรวจสิ่งสำคัญใน
ชีวิต ร่วมกับแบบสำรวจความสนใจในอาชีพ แบบทดสอบความถนัด แบบสำรวจวุฒิภาวะด้านอาชีพ และ
แบบส ำรวจค่าน ิยมในอาชีพ
2.2.2 เครอื่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวด า้ นอ าชพี ท เ่ี นน้ จ ติ พ สิ ยั ทสี่ ำคญั ๆ เชน่ แบบส ำรวจ
ความส นใจข อง กลิ ฟอ รด์ แ ละซ มิ เมอ รแ์ มน (Guilford-Zimmerman Interest Inventory, 1989) แบบสำรวจ
ความช อบในอาชีพห รือค วามพึงพ อใจในอ าชีพของฮอลแลนด์ (Holland Vocational Preference Inven-
tory 1985) แบบส ำรวจความสนใจท ี่เป็นรูปภาพข อง กีสท์ (Geist Picture Interest Inventory 1991) ซึ่ง
เป็นแบบสำรวจเกี่ยวกับความสนใจในงานในกลุ่มอาชีพต่างๆ แบบสำรวจค่านิยมในการทำงานของซุเปอร์
(Super Work Value Inventory 1970) และแบบส ำรวจความส นใจในอาชีพ (Career Interest Inventory
ของ The Psychological Corporation, 1990) เป็นต้น
ผู้เขียนขอเสนอตัวอย่างแบบสำรวจความสนใจของกิลฟอร์ดและซิมเมอร์แมน (Guilford-
Zimmerman Interest Inventory: GZII 1989) สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1989 เป็นแ บบส ำรวจที่มีค วามเที่ยง
สูง และม คี วามส ัมพันธส์ ูงก ับแ บบส ำรวจค วามส นใจในอ าช ีพข องส ต รอง (The Strong Interest Inventory,
1985) ที่ส ร้างและปรับปรุงใหม่โดย สตรอง แฮนเสน และแ คมพ์เบลล์ (Strong, Hansen and Campbell,
1985) และมีความสัมพันธ์กับแบบสำรวจต่างๆ เกี่ยวกับค่านิยมในการทำงาน แบบสำรวจความสนใจของ
กิลฟอร์ดและซิมเมอร์แมนนี้ สร้างขึ้นเพื่อสำรวจแบบแผนความสนใจในอาชีพ (Interest Patterns) ใช้
ทดสอบต ั้งแต่ระดับม ัธยมศึกษาป ีท ี่ 4-6 และร ะดับอุดมศึกษา ใช้เวลาท ดสอบป ระมาณ 20 นาที ใช้ทดสอบ
ได้ทั้งเป็นกล ุ่มและรายบุคคล ผลก ารทดสอบจะท ำให้ทราบว ่า ผู้รับการท ดสอบส นใจอ าชีพใด เมื่อผู้รับการ
ทดสอบต อบแ บบส ำรวจด งั ก ลา่ วเรยี บรอ้ ยแ ลว้ จะน ำค ะแนนด บิ ท ไี่ ดม้ าแ ปลงเปน็ ค ะแนนม าตรฐานเพือ่ เปรยี บ
เทียบก ับเกณฑ์ป กติห รือป กติว ิสัยต่อไป
แบบส ำรวจค วามส นใจข อง กิลฟอ ร์ดแ ละซ ิมเมอ รแ์ มน เป็นแ บบส ำรวจม าตรฐานท ีม่ ปี ระโยชน์
ในการให้บริการแ นะแนวอาชีพ ตลอดทั้งก ารนำไปใช้ในงานว ิจัยท ี่เกี่ยวกับค วามส นใจในงานหรืออ าชีพ
2.2.3 เครอื่ งมอื มาตรฐานทางการแนะแนวด้านอาชพี ที่เน้นทกั ษะพิสยั ที่สำคัญๆ เช่น แบบ
สำรวจพัฒนาการทางอาชีพ-ออสเตรเลีย (The Career Development Inventory-Australia: CDI-A)
แบบส ำรวจงานพ ัฒนาการและรูปแบบชีวิตของน ักเรียน (Student Developmental Task and Life Style
Inventory: SDTLI) แบบสำรวจทั้งสองฉบับนี้เป็นแบบสำรวจมาตรฐานทางการแนะแนวด้านอาชีพที่เน้น
ทักษะพ ิสัย ดังส าระส ำคัญต่อไปน ี้
1) แบบส ำรวจพ ฒั นาการท างอ าชพี -ออสเตรเลยี (The Career Development Inventory-
Australia) สร้างโดยโลแกน (Lokan, 1984) เมื่อ ค.ศ. 1984 เป็นแบบสำรวจมาตรฐานที่สร้างขึ้นเพื่อวัด
องค์ประกอบที่สำคัญๆ ของการพัฒนาอาชีพ ซึ่งได้แก่ การวางแผนอาชีพ การสำรวจอาชีพ โลกของข้อมูล
เกี่ยวก ับง าน การต ัดสินใจเลือกอ าชีพ วุฒภิ าวะท างอ าชีพ ความร ู้ เจตคติ และท ักษะด ้านพ ัฒนาการท างอ าชีพ
องค์ประกอบต ่างๆ เหล่านี้จะประมวลผ ลที่แสดงถึงระดับพัฒนาการท างอาชีพ โดยนำคะแนนจ ากการตอบ
แบบสำรวจไปแปลงเป็นคะแนนมาตรฐานเพื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ปกติหรือปกติวิสัย แบบสำรวจนี้ใช้ได้
ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช