Page 75 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 75

การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-19
            3.2.2	 เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​ด้าน​สังคม เช่น แบบ​สำรวจ​สัมพันธภาพ​ระหว่าง​
บุคคล แบบว​ ัด​สภาพแ​ วดล้อม​ในก​ ารท​ ำงาน แบบ​วัด​สภาพแ​ วดล้อมใ​นค​ รอบครัว แบบว​ ัดส​ ภาพแ​ วดล้อมใ​น​
ชั้นเ​รียน แบบ​วัดก​ าร​ปรับต​ ัวก​ ับส​ มาชิกค​ รอบครัว การ​วาดภ​ าพบ้าน ต้นไม้ และ​คน การ​วาดภ​ าพ​ครอบครัว
และ​การ​วาดภ​ าพ​โรงเรียน เป็นต้น
            ตัวอย่าง​เครื่องม​ ือ​มาตรฐาน​ทางการแ​ นะแนว​ด้านส​ ังคม เช่น

                 1)	แบบ​วัด​สภาพ​แวดล้อม​ใน​ครอบครัว (Family Environment Scale: FES) เป็น​แบบ​
วัดม​ าตรฐาน สร้างโ​ด​ยมูส์แ​ ละ​มูส์ (Moos and Moos, 1986) ใน​ปี ค.ศ. 1986 เป็นแ​ บบว​ ัด​ที่ส​ ร้างข​ ึ้น​เพื่อ​
ใหส้​ มาชิกค​ รอบครัวป​ ระเมินเ​กี่ยวก​ ับส​ ัมพันธภาพร​ ะหว่างส​ มาชิกค​ รอบครัว ความร​ ู้สึกข​ องส​ มาชิกค​ รอบครัว​
ที่ม​ ีต​ ่อก​ ารอ​ บรมเ​ลี้ยงด​ ูข​ องบ​ ิดาม​ ารดา การป​ ฏิบัติต​ ามก​ ฎร​ ะเบียบข​ องค​ รอบครัว การแ​ ก้ป​ ัญหาค​ วามข​ ัดแ​ ย้ง​
ระหว่างส​ มาชิกค​ รอบครัวแ​ ละก​ ารม​ ีก​ ิจกรรมต​ ่างๆ ร่วมก​ ัน แบบว​ ัดน​ ี้ใ​ช้ท​ ดสอบบ​ ุคคลท​ ี่ม​ ีอายุต​ ั้งแต่ 11 ปีข​ ึ้น​
ไป ซึ่ง​ทดสอบ​ได้​ทั้ง​เด็ก วัย​รุ่น และ​ผู้ใหญ่ และ​ใช้​เวลา​ตอบ​ประมาณ 15-20 นาที ผล​การ​ทดสอบ​จะ​ทำให้​
ทราบ​ว่า ผู้รับ​การ​ทดสอบ ประเมิน​สภาพ​แวดล้อม​ใน​ครอบครัว​แต่ละ​ด้าน​อย่างไร และ​คะแนน​ที่​ได้​จาก​การ​
ตอบ​แบบ​สำรวจ​นี้​สามารถ​นำ​มา​แปลง​เป็น​คะแนน​มาตรฐาน เพื่อ​การ​เปรียบ​เทียบ​กับ​ปกติ​วิสัย​ของ​แบบ​วัด​
ดังก​ ล่าว

                 2)	การว​ าดภ​ าพบ​ ้าน ต้นไม้ และ​คน (Kinetic-House-Tree-Person Drawings: K-H-T-P
Drawings) เป็นเ​ครื่องม​ ือม​ าตรฐานช​ นิดห​ นึ่งท​ ี่ใ​ช้เ​ทคนิคก​ ารฉ​ ายภ​ าพ (Projective Technique) ซึ่งห​ มายถ​ ึง​
ภาพ​ที่อ​ ยู่​ในม​ โนท​ ัศน์​ของแ​ ต่ละ​บุคคล​และส​ ะท้อน​ภาพท​ ี่อ​ ยู่​ใน​มโนท​ ัศน์​นั้น​ออก​มาท​ ี่​ภาพท​ ี่​วาด

                 การ​วาด​ภาพ​บ้าน ต้นไม้ และ​คน มี​แนวคิด​มา​จาก​ทฤษฎี​ความ​ต้องการ​ของ​มาส​โลว์
(Maslow Need Hierarchy Theory) ที่ส​ ะท้อน​ถึง​ความต​ ้องการ​ใน​ชีวิตม​ นุษย์​และ​ทฤษฎี​จิตว​ ิ​เคราะห์ข​ อง​
ฟ​รอยด​ ์ (Freud Psychoanalysis)

                 บุคคล​ที่เ​ป็น​ผู้ร​ ิเริ่ม​ใน​การ​พัฒนาการว​ าด​ภาพ บ้าน ต้นไม้ และค​ น​คือ บัค (Buck) โดย​
เริ่ม​สร้าง​เครื่องม​ ือม​ าตรฐาน​ดังก​ ล่าวใ​นป​ ี ค.ศ. 1948 และ​ใน​ปี ค.ศ. 1970 เบิร์น​และค​ อมมาน (Burns and
Kaufman) ได้​ปรับปรุง​อีก​ครั้ง​หนึ่ง จนถึง​ฉบับ​ปัจจุบัน​ที่​ปรับปรุง​โดย เบิร์น (Burns, 1987) การ​วาด​ภาพ​
นี้​มี​ความ​สำคัญ​อย่าง​ยิ่ง​ที่​จะ​นำ​มา​ใช้​ประเมิน​บุคลิกภาพ​ของ​บุคคล เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​เปิด​โอกาส​ให้​ผู้รับ​การ​
ทดสอบ เปิดเ​ผย​ความ​รู้สึกท​ ี่​ซ่อน​เร้นอ​ อก​มาก​ ับ​ภาพ​ที่ว​ าด ลักษณะข​ องภ​ าพท​ ี่ว​ าด รูปแ​ บบ สัญลักษณ์ต​ ่างๆ
ที่​ปรากฏใ​นภ​ าพ การเ​คลื่อนไหวข​ องแ​ ต่ละภ​ าพ ปฏิสัมพันธ์ และ​ความส​ ัมพันธ์​ระหว่าง​ภาพ​บ้าน ต้นไม้ และ​
คน จะส​ ะท้อนถ​ ึงค​ วามร​ ู้สึก​ของ​ผู้รับ​การ​ทดสอบ​ที่ม​ ี​ต่อ​ภาพ​ที่ว​ าด และ​สะท้อน​ถึง​บุคลิกภาพ​ตลอด​ทั้งค​ วาม​
ต้องการ​ของ​ผู้รับ​การ​ทดสอบ

                 ในก​ ารด​ ำเนนิ ก​ ารท​ ดสอบก​ ารว​ าดภ​ าพบ​ ้าน ตน้ ไม้ และค​ น ใชท​้ ดสอบก​ ับผ​ ูท้​ ีม​่ ีอายตุ​ ั้งแต่
3 ขวบ​ขึ้น​ไป​จนถึง​ผู้ใหญ่ ไม่​จำกัด​เวลา​ใน​การ​ให้​ผู้รับ​การ​ทดสอบ​วาด​ภาพ แต่​ผู้​ทดสอบ​จะ​ต้อง​บันทึก​ระยะ​
เวลาใ​นก​ ารว​ าดภ​ าพ จะต​ ้องส​ ังเกตก​ ารว​ าดภ​ าพแ​ ต่ละภ​ าพต​ ั้งแตเ่​ริ่มท​ ดสอบ ดังน​ ั้น จ​ ึงต​ ้องด​ ำเนินก​ ารท​ ดสอบ​
เป็นร​ ายบ​ ุคคล เพราะจ​ ะท​ ำใหท้​ ราบร​ ายล​ ะเอียดต​ ่างๆ ในก​ ารว​ าดภ​ าพ เพื่อน​ ำม​ าป​ ระกอบก​ ารแ​ ปลค​ วามห​ มาย
​ของ​ภาพ​ที่​วาด และ​ผู้​ที่​จะ​นำ​การ​วาด​ภาพ​ไป​ใช้​จะ​ต้อง​ได้​รับ​การ​ฝึก​ปฏิบัติ​ใน​การ​ดำเนิน​การ​ทดสอบ​และ​
การ​แปลผ​ ล

                           ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80