Page 80 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 80
2-24 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
ก็อาจจะมีความสำคัญน้อยต่อคนอื่นๆ ค่านิยมในอาชีพจำแนกเป็นด้านต่างๆ ต่อไปนี้คือ ด้านความคิด
สร้างสรรค์ ด้านก ารบริหาร ด้านส ัมฤทธิผ ล ด้านการท ำงาน ด้านความส ัมพันธ์กับน ายจ้าง ด้านความม ั่นคง
ด้านความพึงพอใจในผู้ร่วมงาน ด้านความมีเกียรติ ด้านความเป็นอิสระ ด้านการให้ความช่วยเหลือบุคคล
อื่น และด ้านความต้องการท างสังคม
1.2.3 ลกั ษณะข องส งิ่ ท ตี่ อ้ งการว ดั ท างการแ นะแนวด า้ นอ าชพี ท เ่ี นน้ ท กั ษะพ สิ ยั เช่น การเลอื ก
อาชพี การต ดั สนิ ใจเลอื กอ าชพี ทกั ษะอ าชพี การว างแผนอ าชพี การว างแผนช วี ติ ด า้ นอ าชพี ลกั ษณะม ุง่ อ นาคต
ที่เกี่ยวข้องกับก ารศ ึกษาแ ละอ าชีพ เป็นต้น
ตัวอย่างนิยามปฏิบัติการของลักษณะมุ่งอนาคตที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการประกอบ
อาชีพ
ลักษณะม ุ่งอนาคตท ี่เกี่ยวข้องก ับการศ ึกษาแ ละก ารป ระกอบอ าชีพห มายถ ึง การม องอ นาคต
ข้างห น้าข องเดก็ วยั ร ุ่น หรือผ ู้ใหญ่ เกี่ยวก ับก ารศ กึ ษาแ ละก ารป ระกอบอ าชพี ภ ายในร ะยะ 5 ปี โดยเดก็ วัยร ุ่น
หรือผู้ใหญ่ท ี่มีล ักษณะม ุ่งอนาคตท างการศึกษาและการป ระกอบอาชีพ มีล ักษณะดังนี้
1) สามารถคาดการณ์ไกลถึงผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกระทำเกี่ยวกับการศึกษาและ
การป ระกอบอาชีพ และต ัดสินใจเลือกก ระทำอ ย่างเหมาะส ม
2) หาทางแก้ปัญหา และวางแผนดำเนินการเพื่อกำหนดเป้าหมายเกี่ยวกับการศึกษา
และการป ระกอบอ าชีพในอนาคต
3) รูจ้ กั เลอื กท จี่ ะก ระทำแ ละร อค อยผ ลท อี่ าจจ ะเกดิ ข ึน้ ในอ นาคตเกีย่ วก บั ก ารศ กึ ษาแ ละ
การป ระกอบอาชีพ และม ีความเพียรพ ยายามในปัจจุบันเพื่อประสบค วามส ำเร็จในชีวิต
1.3 ลักษณะของสิ่งที่ต้องการวัดทางการแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม ที่เน้นพ ุทธิพ ิสัย จิตพ ิสัย
และท ักษะพิสัยที่สำคัญๆ มีดังนี้
1.3.1 ลักษณะของส่ิงท่ีต้องการวัดทางการแนะแนวด้านส่วนตัว เช่น ความมีน้ำใจนักกีฬา
ความเชื่อมั่นในตนเอง เอกลักษณ์แห่งตน บุคลิกภาพ การปรับตัว แรงจูงใจ การเผชิญปัญหา การเผชิญ
ความโกรธ ความท ้อแท้ อารมณ์ อัตม โนทัศน์ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นต้น
ตัวอย่างน ิยามปฏิบัติก ารของความม ีน้ำใจน ักกีฬา
ความม นี ำ้ ใจน กั กฬี า หมายถ งึ ความค ดิ ความร ูส้ กึ ข องน กั เรยี นท แี่ สดงออกในด า้ นก ารย อมรบั
กฎเกณฑ์และกติกา ความเป็นผู้ร ู้จักแ พ้ รู้จักช นะ รู้จักอภัย การเสียส ละเพื่อส่วนรวม และค วามสามัคคี
1.3.2 ลกั ษณะข องส ง่ิ ท ตี่ อ้ งการว ดั ท างการแ นะแนวด า้ นส งั คม เชน่ สมั พนั ธภาพร ะหวา่ งบ คุ คล
การป ฏิบัตติ นก ับเพื่อน การจ ัดการก ับค วามโกรธ สัมพันธภาพก ับส มาชิกค รอบครัว บรรยากาศในก ารท ำงาน
ในอ งค์กร สภาพแวดล้อมในช ั้นเรียน เป็นต้น
ตัวอย่างนิยามปฏิบัติการของพฤติกรรมที่เด็ก วัยรุ่น หรือผู้ใหญ่ แสดงออกเพื่อจัดการกับ
ความโกรธ
พฤติกรรมที่เด็ก วัยรุ่น หรือผ ู้ใหญ่แ สดงออกเพื่อจัดการกับความโกรธของต นเอง หมายถึง
พฤติกรรมที่เด็ก วัยรุ่น หรือผู้ใหญ่แสดงออกทั้งภาษาถ้อยคำและ/หรือภาษาท่าทาง เพื่อตอบสนองต่อ
สถานการณ์ที่ท ำให้โกรธห รือไม่พ อใจอย่างมาก จำแนกเป็น
ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช