Page 84 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 84
2-28 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
ตัวอย่างแ บบบ ันทึกพ ฤตกิ รรมท ่ใีช้การส ังเกตแบบส มุ่ เหตุการณ์
ชื่อผ ู้ถูกส ังเกต ......................................................................................................................................
ผู้สังเกต .......................................... สถานท ี่สังเกต .............................................................................
วันที่ .............. เดือน ................................... พ.ศ. .............. เวลา 9.00-9.15 น. (ระบุร ะยะเวลาที่ส ังเกต)
พฤติกรรมท ี่สังเกต: การพ ูดต ิดอ ่าง
การบันทึกพฤติกรรมท ี่สังเกต: บันทึกโดยทำร อยข ีด (/) พฤติกรรมท ี่ต้องการส ังเกตที่เกิดข ึ้นท ุกค รั้ง
วันท่ี ช่วงเวลาทีอ่ อก จำนวนครงั้ ของการเกิดพฤตกิ รรมพดู ตดิ อา่ ง
เดอื น ปี ไปพดู หน้า
ชน้ั เรียน พดู เออ้ ๆ พดู ตะกกุ พดู ปากสั่น ขาสั่น มอื เกรง็ ไม่สบตา หมายเหตุ
อา้ ๆ ตะกกั เสียงส่ัน ผู้ฟัง
15 พค. 45 9.00-9.15 น. //// //// //// / //// //// /// /// ///
17 พค. 45 10.00-10.15 น.
22 พค. 45 9.00-9.15 น.
24 พค. 45 10.00-10.15 น.
หมายเหต ุ ในระหว่างสังเกตพ ฤติกรรมท ี่ต้องการศึกษา ผู้ส ังเกตจะต ้องบันทึกพ ฤติกรรมหรือเหตุการณ์อื่นๆ
ที่เกิดข ึ้นในร ะหว่างระยะเวลาท ี่สังเกตด ้วย
(2) การส งั เกตพ ฤตกิ รรมแบบส มุ่ เวลา เปน็ การสังเกตที่ผู้สังเกตแบ่งเวลาของก าร
สงั เกตอ อกเปน็ ช ว่ งๆ โดยแ บง่ ร ะยะเวลาท ตี่ อ้ งการส งั เกตอ อกเปน็ ช ว่ งย อ่ ยๆ เชน่ การส งั เกตพ ฤตกิ รรมก อ่ กวน
ในระหว่างการเรียน ซ่ึงพฤติกรรมก่อกวนในชั้นเรียนที่ต้องการสังเกต ได้แก่ การลุกจากท่ีน่ัง การเคาะโต๊ะ
การเอาเทา้ ไปแ หย่เพอ่ื น ในระหวา่ งการเรียนค ณติ ศาสตร์ ผูส้ งั เกตจะต อ้ งกำหนดชว่ งข องก ารส ังเกต เชน่ เมือ่
ครูเรม่ิ ตน้ สอนค ณติ ศาสตรใ์ นช ว่ ง 10 นาทีแ รก ครูจะต อ้ งแบง่ ชว่ งการสังเกตนน้ั เป็นชว่ งย อ่ ยๆ เชน่ แบง่ เป็น
ช่วงละ 2 นาที ถา้ พ ฤตกิ รรมใดท ีต่ ้องการส ังเกตเกิดข ึ้นในช ่วงเวลานั้น กใ็ หบ้ นั ทึกพฤตกิ รรมล ะ 1 คร้งั แตถ่ า้
จำนวนค ร้ังของแตล่ ะพฤตกิ รรมนน้ั เกดิ ขนึ้ ม ากกว่า 1 ครัง้ ในช่วงเวลาน ัน้ กย็ งั คงบนั ทกึ พ ฤติกรรมล ะ 1 ครง้ั
ในการจะสังเกตและบันทึกพฤติกรรมอะไร ผู้สังเกตจะต้องมีจุดมุ่งหมายว่า เพ่ือ
ตอ้ งการป รับปรงุ แกไ้ ข พฤตกิ รรมน น้ั ๆ หรอื ท ักษะใดทกั ษะห น่งึ หรอื พฒั นาพฤติกรรมห รือทักษะนั้นๆ
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช