Page 85 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 85
การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-29
ตัวอย่างแ บบบนั ทกึ พฤติกรรมทใี่ ชก้ ารส งั เกตแบบส ุ่มเวลา
ชื่อผู้ถูกส ังเกต ......................................................................................................................................
ผู้สังเกต .......................................... สถานท ี่ส ังเกต .............................................................................
วันที่ .............. เดือน ................................... พ.ศ. .............. เวลา 8.30-8.41 น.
พฤติกรรมท ี่ส ังเกต: พฤติกรรมก่อกวนในชั้นเรียน
การบ ันทึกพ ฤติกรรมที่ส ังเกต: บันทึกโดยท ำรอยข ีด (/) พฤติกรรมท ี่ต ้องการส ังเกต โดยบ ันทึก 1 รอยข ีดใน
แต่ละช ่วงส ั้นๆ นั้น แม้ว่าพฤติก รรมนั้นๆ จะเกิดขึ้นห ลายครั้งก ็ตาม
วนั ท่ี เดอื น ปี พฤติกรรมก่อกวนในชัน้ เรยี น ช่วงเวลาทพ่ี ฤตกิ รรมนน้ั ๆ เกดิ (8.30-8.41 น.)
16 พ.ค. 45 8.30-8.32 8.33-8.35 8.36-8.38 8.39-8.41
การลุกจากที่นั่ง
การเคาะโต๊ะ
การเอาเท้าไปแหย่เพื่อน
หมายเหต ุ – บันทึกพ ฤติก รร มอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างก ารสังเกต
– ให้ผ ู้สังเกตพ ักส ายตา 1 นาที ก่อนจ ะเริ่มส ังเกตในช่วงถัดไป
3.2 การก ำหนดค ณุ ภาพข องเครอ่ื งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวท จ่ี ะน ำไ ปใชว้ ดั ก่อนท ี่ผ ู้ใหบ้ ริการ
แนะแนวจ ะน ำเครื่องม ือม าตรฐานท างการแ นะแนวไปใช้ ผูใ้หบ้ ริการแ นะแนวจ ะต ้องหาค ุณภาพข องเครื่องม ือ
แนะแนวท ี่ส ร้างห รือพ ัฒนาข ึ้น โดยอ ย่างน ้อยจ ะต ้องหาค วามต รงเชิงป ระจักษ์ (Face Validity) ความต รงเชิง
โครงสร้าง (Construct Validity) และค วามต รงเชิงเนื้อหา (Content Validity) แล้วจ ึงน ำไปทดลองใช้เพื่อ
หาค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (Item Analysis) และเมื่อคัดเลือกข้อที่มีค่าอำนาจจำแนกตามเกณฑ์ที่กำหนด
แล้ว จึงน ำไปห าค่าค วามเที่ยง (Reliability) ต่อไป (รายล ะเอียดข องเนื้อหา โปรดดูร ายล ะเอียดจากหน่วยที่
14) “การป ระเมินคุณภาพข องเครื่องม ือแ ละก ิจกรรมแนะแนว”
3.2.1 การหาค ณุ ภาพของเครื่องม อื ม าตรฐานทางการแ นะแนว โดยเฉพาะอ ย่างยิ่ง เครื่องมือ
มาตรฐานที่มีลักษณะเป็นแบบทดสอบ แบบวัด แบบสำรวจ และแบบสอบถาม จะต้องหาค่าความตรง ค่า
ความเที่ยง ค่าความย ากง ่าย และค่าอำนาจจำแนก ซึ่งมีประเด็นส ำคัญๆ ดังนี้
1) ความหมายข องความตรงและค วามเที่ยง
(1) ความต รง หมายถ งึ การว ดั ในส ง่ิ ที่ตอ้ งการวัด
(2) ความเทีย่ ง หมายถงึ ความคงเส้นค งวาของผ ลทีไ่ดจ้ ากก ารว ดั ความเทย่ี ง เป็น
คณุ สมบตั ิของเครื่องมือว ัด ซึ่งแ ตกต่างจ ากความต รง เพราะความต รงเป็นข้อสรปุ ที่ได้จากก ารค ิดแ บบอุปทาน
(Inductive) ตามห ลกั ฐ านท มี่ อี ยจู่ งึ เรยี กว า่ Validity Evidence แตท่ งั้ ค วามต รงแ ละค วามเทยี่ งล ว้ นไดม้ าจ าก
ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช