Page 95 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 95
การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-39
(2) แบบสำรวจพัฒนาการทางอาชีพ-ออสเตรเลีย (The Career Development
Inventory-Australia: CDI-A) สรา้ งโดยโลแ กน (Lokan, 1984) สรา้ งข นึ้ เพอื่ ว ดั การว างแผนอ าชพี การส ำรวจ
อาชีพ โลกข องข อ้ มูลเก่ยี วกับง าน การตดั สนิ ใจเลือกอ าชพี วฒุ ิภาวะทางอาชพี ความรู้ เจตคติและท ักษะด้าน
พัฒนาการทางอาชีพ ของน กั เรียนระดบั ม ธั ยมศกึ ษาป ีท่ี 3 ถึง 6
(3) แบบส ำรวจง านพ ฒั นาการแ ละร ปู แ บบชวี ิตของนักเรยี น (Student Develop-
mental Task and Life Style Inventory) สรา้ งโดย วนิ สตัน มิลเลอร์ และพ รินซ์ (Winston, Miller and
Prince, 1987) สร้างขึ้นเพ่ือว ัดองค์ประกอบทเ่ี กย่ี วข้องกบั งานพ ฒั นาการด า้ นต่างๆ รวมทั้ง งานการว างแผน
อาชพี โดยผ สู้ รา้ งม คี วามเชอ่ื ว า่ บคุ คลท ม่ี กี ารว างแผนอ าชพี ด ี และป ระสบค วามส ำเรจ็ ในช วี ติ ก ารง านแ ละอ าชพี
บคุ คลนั้นจะต้องม ีก ารวางแผนก ารศ ึกษา วางแผนช ีวิตสว่ นตัวและสังคมท ด่ี ี ดังนั้น จงึ ค วรจะศกึ ษาภ าพร วม
ของชีวติ ค นเรา มากกวา่ จ ะวัดเพียงช วี ิตด้านก ารง านแ ละอ าชพี เท่าน้นั
2.3 การก ำหนดข อบขา่ ยข องเครอื่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวท ต่ี อ้ งการพ ฒั นาด า้ นส ว่ นต วั แ ละ
สงั คม
2.3.1 การก ำหนดข อบขา่ ยข องเครอ่ื งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวท ต่ี อ้ งการพ ฒั นาด า้ นส ว่ น
ตัว
1) ขอบขา่ ยเนอื้ หาข องเครอ่ื งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวท ตี่ อ้ งการพ ฒั นาด า้ นส ว่ นต วั
เช่น อารมณ์ ความว ิตกก ังวล บุคลิกภาพ การป รับต ัว สุขภาพจ ิต ความฉ ลาดท างอ ารมณ์ ความภ าคภ ูมิใจใน
ตนเอง ความโกรธ แรงจ ูงใจ ความท้อแท้ ความมีน้ำใจ อัตมโนมติ การเผชิญปัญหา การแ ก้ป ัญหา เป็นต้น
2) เครือ่ งม ือมาตรฐานทางการแนะแนวดา้ นส่วนตวั เช่น
(1) แบบสำรวจอารมณ์ (Temperament Survey) สร้างโดย กิลฟอร์ดและ
ซมิ เมอ ร์แมน (Guilford and Zimmerman, 1978) แบบสำรวจน ้จี งึ ม ชี อ่ื ว า่ “The Guilford-Zimmerman
Temperament Survey: GZTS” แบบสำรวจน้ีสร้างขึ้นเพ่ือวัดลักษณะบุคลิกภาพท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหา
บุคลิกภาพทั้งด้านอารมณ์และพฤติกรรมของบุคคลท่ีซ่อนเร้นอยู่ภายใต้จิตใจ แบบสำรวจอารมณ์น้ีสร้างข้ึน
สำหรับนกั เรยี นมธั ยมศึกษา 4-6 และน สิ ติ น กั ศกึ ษา
(2) แบบส ำรวจค วามว ติ กก งั วลส ำหรบั เดก็ (State-Trait Anxiety Inventory for
Children: STAIC) สร้างโดยส ปลิ เบอเกอร์ (Spielberger, 1973) ใช้วัดความว ิตกก งั วลของเดก็ ที่มอี ายตุ ั้งแต่
9 ปี ถงึ 12 ปี โดยว ดั ความว ิตกก งั วลท เ่ี ป็นลักษณะส ว่ นบ ุคคล (Trait Anxiety) และค วามวติ กกงั วลท ี่เกดิ ข ้นึ
อันเนอื่ งม าจากสถานการณใ์ดสถานการณห์ นง่ึ (State Anxiety)
(3) แบบสำรวจความภาคภูมิใจในตนเอง (Self-Exteem Inventories: SEI)
สร้างโดย คูเปอร์สมิท (Coopersmith, 1981) มี 2 ฟอรม์ ฟอรม์ แรกส ำหรับเด็กอายุ 8 ปี จนถึงวัยร ุน่ อายุ 15
ปี อีกฟอร์มหน่ึงสำหรับวัยรุ่นอายุ 16 ปี จนถึงผู้ใหญ่อายุ 34 ปี แบบสำรวจนี้สร้างขึ้นเพื่อวัดเจตคติที่มีต่อ
ตนเอง การยอมรบั ห รอื ไมย่ อมรับตนเอง ความเช่ือในศ ักยภาพข องตนเอง ความสำเรจ็ ข องต นเอง และค ุณค่า
ของตนเอง
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช