Page 96 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 96
2-40 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
(4) แบบสำรวจความท้อแท้ (Burnout Inventory) สร้างโดยแมสแลชและ
แ จคส นั (Maslach and Jackson, 1981) ดังน ้นั แบบส ำรวจนี้จึงม ชี ือ่ ว่า “Maslach Burnout Inventory”
สร้างขึ้นเพื่อวัดความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่องาน และเพ่ือนร่วมงาน ใช้ทดสอบความรู้สึกท้อแท้ส้ินหวังในการ
ทำงานข องบ คุ คลท่ปี ระกอบอาชีพตา่ งๆ
(5) แบบสอบถามว ธิ กี ารเผชิญปัญหา (Ways of Coping Questionnaire) สรา้ ง
โดยฟอล์คแมน และลาซารัส (Folkman and Lazarus, 1981) สร้างขึ้นเพ่ือใช้วัดกระบวนการเผชิญปัญหา
(Coping Process) ว่าเม่ือบุคคลเผชิญกับปัญหา บุคคลนั้นจะมีความคิดและการกระทำอย่างไร โดยจะวัด
กระบวนการเผชิญปญั หา ไมไ่ ดว้ ัดร ูปแบบ (Styles) ของการเผชิญปัญหาแบบสอบถามนี้เหมาะสำหรับว ยั รุน่
และผูใ้ หญ่
2.3.2 การกำหนดขอบข่ายของเคร่ืองมือมาตรฐานของการแนะแนวที่ต้องการพัฒนาด้าน
สังคม
1) ขอบขา่ ยเนอื้ หาข องเครอื่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวท ต่ี อ้ งการพ ฒั นาด า้ นส งั คม
เช่น สัมพันธภาพระหว่างบ ุคคล ความสัมพันธ์ระหว่างส มาชิกครอบครัว สภาพแวดล้อมในก ารท ำงาน สภาพ
แวดล้อมในชั้นเรียน สภาพแวดล้อมในครอบครัว โดยเน้นปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกในหน่วยงาน ในชั้นเรียน
และในค รอบครัว การสื่อสาร การปรับต ัวในก ารอ ยู่ร่วมกันกับบุคคลอื่น
2) เคร่อื งมือมาตรฐานท างการแนะแนวดา้ นสงั คม เช่น
(1) แบบวัดส ภาพแ วดลอ้ มในช ้ันเรยี น (Classroom Environment Scale: CES)
สร้างโดย มูส์ และทริเคทท์ (Moos and Trickett, 1987) สร้างขึ้นเพ่ือใช้วัดสัมพันธภาพในด้านต่างๆ เช่น
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และในงานท่ีได้รับมอบหมาย นอกจากน้ี
ยงั ได้แก่ การม ีสมั พนั ธภาพก บั เพ่ือน ความร ู้สกึ ท่มี ตี ่อครู การป ฏิบตั ิตามกฎร ะเบียบข องชั้นเรยี น เป็นต้น แบบ
วดั น ี้ เหมาะส ำหรบั น กั เรยี นต งั้ แตร่ ะดบั ม ธั ยมศกึ ษาป ที ี่ 1 ขนึ้ ไปจ นถงึ ร ะดบั ว ทิ ยาลยั และค รผู สู้ อนแ ละส ามารถ
นำไปต รวจส อบ ความค ดิ เหน็ ท มี่ ตี อ่ บ รรยากาศแ ละส ภาพแ วดลอ้ มในช น้ั เรยี นร ะหวา่ งค รผู สู้ อนแ ละน กั เรยี นว า่
มีความค ิดเหน็ สอดคลอ้ งก ันม ากน อ้ ยเพยี งใด
(2) การว าดภ าพค รอบครวั (Kinetic Family Drawing: KFD) พฒั นาโดย คนอฟฟ์
และเพรา้ ท์ (Knoff and Prout, 1985) เปน็ เครอ่ื งมอื มาตรฐานที่เร่มิ พ ัฒนามาตัง้ แต่ ค.ศ. 1926 และพ ฒั นามา
เปน็ ระย ะๆ จนก ระท่งั ฉบับป จั จบุ นั ทพี่ ฒั นาโดยคนอฟฟแ์ ละเพร้าท์
วัตถุประสงค์ของการวาดภาพครอบครัว เพ่ือประเมินความรู้สึกและการรับรู้
เก่ียวกับสัมพันธภาพของผู้วาดกับสมาชิกครอบครัว บรรยากาศในครอบครัว บุคคลสำคัญที่ผู้วาดรู้สึกว่า มี
ความส ำคญั ต อ่ ช วี ติ ข องผ วู้ าด ความป รารถนาข องผ วู้ าด อารมณแ์ ละค วามร สู้ กึ ท อี่ ยใู่ นจ ติ ไรส้ ำนกึ ซงึ่ ส งิ่ เหลา่ น ี้
จะสะท้อนถึงบุคลิกภาพและเจตคติของผู้วาด ตลอดท้ังปัญหาและความยุ่งยากในจิตใจของผู้วาด การวาด
ภาพค รอบครวั เป็นเครือ่ งมือมาตรฐานท ่ีใชไ้ ดก้ บั ท กุ ว ัฒนธรรม เหมาะสำหรบั บ คุ คลท อี่ ายุ 5 ขวบข นึ้ ไปจนถงึ
ผใู้ หญ่
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช