Page 94 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 94
2-38 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
นี้ต้องการให้ผู้รับการทดสอบระบุว่า เขามีความสนใจในงานใดและมีความสนใจในการทำมาหากินหรืออาชีพ
อะไร (Vocational and Avocational Interests) ท้ังนี้ เพื่อจะนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจไปประกอบการ
วางแผนก ารศ ึกษาแ ละอาชพี ต่อไป
(4) แบบส ำรวจค่าน ิยมในการทำงาน (Work Value Inventory: WVI) สรา้ งโดย
ซุเปอร์ (Super, 1970) เป็นแบบสำรวจท่ีจะช่วยให้บุคคลทราบว่าสิ่งท่ีเขาเชื่อว่า มีความสำคัญในการทำงาน
นั้นควรประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ค่านิยมในการทำงานที่ใช้วัดในแบบสำรวจน้ี มีหลายประการ เช่น ค่านิยม
ท่ีเกี่ยวกับความสำเร็จในการทำงาน ความม่ันคงในงาน เกียรติยศชื่อเสียง ความเป็นอิสระ ค่าตอบแทน
สภาพแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพกับหวั หน้างาน สมั พันธภาพกบั ผรู้ ว่ มงาน เปน็ ต้น แบบสำรวจนใี้ ช้
สำหรับนักเรยี นช ัน้ ม ธั ยมศึกษาป ีท ่ี 1 ถงึ 6 นสิ ติ น กั ศึกษาแ ละผ ู้ใหญ่
(5) แบบสำรวจเจตคติท่ีมีต่ออาชีพและยุทธวิธีในการประกอบอาชีพ (Career
Attitudes and Strategies Inventory: CASI) สร้างโดย ฮอลแลนด์ และก อททเ์ ฟรดสนั (Holland and
Gottfredson, 2000) เปน็ เครอ่ื งม อื ท จี่ ะช ว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเกยี่ วก บั ก ารป ระกอบอ าชพี ข องผ ใู้ หญม่ ากย ง่ิ ข นึ้ ว า่ ในก าร
ประกอบอ าชพี น นั้ เขาม เี จตคติต อ่ อ าชพี อ ยา่ งไร และเมอื่ ป ระสบอ ปุ สรรคในก ารป ระกอบอ าชพี เขาม ยี ทุ ธวธิ ใีน
การแก้ไขอุปสรรคน้ันอย่างไร แบบสำรวจน้ีจะมีประโยชน์อย่างย่ิงสำหรับบุคคลที่กำลังประกอบอาชีพ อีกทั้ง
จะช่วยประเมินสภาพแวดล้อมขององค์กร และจะทำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับความไม่พอใจของผู้ปฏิบัติงานและ
อุปสรรคในการบ รหิ ารง านข องหน่วยง านใดหน่วยงานหนง่ึ
2.2.3 การก ำหนดข อบขา่ ยข องเครอื่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวท ต่ี อ้ งการพ ฒั นาด า้ นอ าชพี
ทเี่นน้ ท กั ษะพสิ ยั ได้แก่
1) ขอบขา่ ยเนอ้ื หาข องเครอื่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวด า้ นอ าชพี ท เ่ี นน้ ท กั ษะพ สิ ยั
เช่น การเลือกอาชีพ การตัดสินใจเลือกอาชีพ ความไม่แน่ใจในการตัดสินใจเลือกอาชีพใดอาชีพหนึ่งและ
เหตกุ ารณท์ ที่ ำใหล้ งั เลต ดั สนิ ใจไมไ่ ด้ ทกั ษะอ าชพี การว างแผนอ าชพี แ ละง านพ ฒั นาการท างอ าชพี ในแ ตล่ ะช ว่ ง
ชีวิต บรรยากาศในก ารท ำงานข องว ยั ร ุน่ แ ละผ ูใ้ หญ่ สว่ นเนือ้ หาต ่างๆ ของเครือ่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนว
ด้านอ าชีพท ีเ่น้นท ักษะพ ิสัยข องเด็กน ั้น ยังไมส่ ามารถส ร้างได้ เพราะเด็กย ังอ ยูใ่นข ั้นต ้นๆ ของพ ัฒนาการด ้าน
อาชีพ เด็กเพียงแ ต่จ ะเริ่มร ับร ู้ ตระหนักรู้เกี่ยวก ับอาชีพ และให้ความส นใจในอาชีพ ยังไม่ถ ึงร ะดับขั้นท ี่จะมี
ทักษะด้านอาชีพ
2) เคร่ืองมอื มาตรฐานท างการแนะแนวดา้ นอาชีพท ี่เนน้ ทักษะพ ิสัย เช่น
(1) แบบว ดั การตัดสนิ ใจเลอื กอ าชีพ (Career Decision Scale: CDS) สรา้ งโดย
ออสิโปว์ (Osipow, 2000) สร้างข้ึนเพื่อใช้วัดความไม่แน่ใจในการตัดสินใจเลือกอาชีพและเหตุการณ์ที่ทำให้
ลงั เล ตดั สนิ ใจไมไ่ ด้ ผลข องก ารต อบแ บบว ดั น ี้ จะท ำใหท้ ราบว า่ มปี ญั หาอ ปุ สรรคใดในก ารเลอื กอ าชพี เพอ่ื ผ ใู้ ห้
บริการแนะแนวจ ะไดใ้ หค้ วามช ่วยเหลอื ต ่อไป แบบว ัดการต ัดสินใจเลอื กอาชพี น ใ้ีช้ได้กับนักเรียนม ัธยมศกึ ษา
ตอนป ลายแ ละน สิ ติ นักศกึ ษา ทั้งนี้ เพราะหากน กั เรียนม ัธยมศึกษาช ั้นป ีท ่ี 4-6 และน ิสิต นักศึกษา ไมส่ ามารถ
ตดั สินใจได้วา่ น่าจ ะเลอื กอาชีพอ ะไรกจ็ ะเปน็ อ ปุ สรรคต ่อการวางแผนด ้านการศ กึ ษาและอ าชีพต่อไป
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช