Page 107 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 107

การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-51

            3.8.5	 มีก​ าร​หาค​ ่า​ความเ​ที่ยง​ของค​ ำ​ตอบ (The Stability of Responses) โดยร​ ะยะเ​วลา​ที่​
ทดสอบห​ ่าง​กัน 3 เดือน ได้​ค่า​สัมประสิทธิ์​สห​สัมพันธ์​ของ​ความ​เที่ยงข​ อง​คำ​ตอบเ​ท่ากับ .73

            3.8.6	 มี​การ​หาความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​แบบ​ประเมิน​ความ​คิด​วิจารณญาณ​กับ​แบบ​ทดสอบ​ผล​
สัมฤทธิท์​ างก​ ารเ​รียนส​ แ​ ตนฟ​ อ​ ร์ด และแ​ บบท​ ดสอบเ​ชาวนป์​ ัญญาข​ องเ​วคส​ เ​ลอร​ ์ ปรากฏว​ ่าม​ ีค​ ่าค​ วามส​ ัมพันธ​์
กัน​สูง

            3.8.7	 มีก​ าร​หา​ปกติ​วิสัยข​ อง​แบบป​ ระเมินค​ วามค​ ิด​วิจารณญาณ​สำหรับก​ ลุ่ม​เป้าห​ มาย
       3.9	 การใ​ช้เ​ครื่องม​ ือม​ าตรฐาน​ทางการ​แนะแนว
       จากต​ ัวอย่างแ​ บบป​ ระเมิน​ความ​คิด​วิจารณญาณส​ ามารถด​ ำเนินก​ ารใ​ช้ได้ ดังนี้

            3.9.1	 แบบ​ประเมิน​ความ​คิดว​ ิจารณญาณใ​ช้​ทดสอบ​ได้​ทั้ง​เป็นกล​ ุ่มแ​ ละ​รายบ​ ุคคล
            3.9.2	 ผู้​ทดสอบ​จะ​เตรียม​แบบ​ประเมิน​ความ​คิด​วิจารณญาณ กระดาษ​คำ​ตอบ ดินสอ และ​
ยางลบ ให้​ครบต​ าม​จำนวน​ผู้รับก​ าร​ทดสอบ
            3.9.3	 ผท​ู้ ดสอบจ​ ะใ​หผ​้ รู้ บั ก​ ารท​ ดสอบก​ รอกข​ อ้ มลู ส​ ว่ นบ​ คุ คล เชน่ ชอื่ นามสกลุ ระดบั ก​ ารศ​ กึ ษา
สถาน​ศึกษา วันเ​ดือนป​ ี​เกิด
            3.9.4	 ผู้​ทดสอบ​จะ​อธิบาย​ตัวอย่าง​การ​ตอบ​แบบ​ประเมิน​ความ​คิด​วิจารณญาณ​จน​ผู้รับ
​การท​ ดสอบเ​ข้าใจท​ ุก​คน แล้วจ​ ึงเ​ริ่ม​ทดสอบ
            3.9.5	 ผู้​ทดสอบ​จะ​บอก​เวลา​ใน​การ​ตอบ​แบบ​ประเมิน​ความ​คิด​วิจารณญาณ​ว่า​ใช้​เวลา​ทั้ง​สิ้น
40 นาที
            3.9.6	 เมื่อห​ มดเ​วลาผ​ ู้ท​ ดสอบจ​ ะใ​ห้เ​ด็กว​ างด​ ินสอ แล้วเ​ก็บแ​ บบป​ ระเมินแ​ ละก​ ระดาษค​ ำต​ อบ
และ​อุปกรณ์​ต่าง ๆ
       3.10	การต​ รวจใ​หค​้ ะแนนแ​ ละก​ ารแ​ ปลงค​ ะแนนด​ บิ ใ​หเ้​ป็นค​ ะแนนม​ าตรฐาน ผูท้​ ดสอบจ​ ะน​ ำก​ ระดาษ​
คำต​ อบข​ องผ​ ู้รับก​ ารท​ ดสอบม​ าต​ รวจ และน​ ำไ​ปเ​ทียบก​ ับค​ ะแนนม​ าตรฐาน ก็​จะท​ ำใหท้​ ราบว​ ่าผ​ ู้รับก​ ารท​ ดสอบ​
มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​คิด​วิจารณญาณ​อยู่​ใน​ระดับ​ใด และ​อยู่​ที่​ตำแหน่ง​เปอร์​เซ็น​ไทล์​อะไร หาก​ผู้รับ​
การ​ทดสอบ​มี​ระดับ​ความ​คิด​วิจารณญาณ​ค่อน​ข้าง​ต่ำ ผู้​ให้​บริการ​แนะแนว​สามารถ​จัด​โปรแกรม​เพื่อ​พัฒนา​
ความค​ ิดว​ ิจารณญาณ​ให้ก​ ับ​ผู้รับก​ าร​ทดสอบ​ได้
       กลา่ ว​โดยส​ รปุ แนวทาง​การ​ใช้เ​ครื่อง​มือม​ าตรฐานท​ างการแ​ นะแนว​ที่​สำคัญๆ ได้แก่ การศ​ ึกษา​คู่มือ​
การ​ใช้​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว การเต​รี​ยม​การ​ก่อน​นำ​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​ไป​ใช้
และก​ าร​ศึกษา​ตัวอย่างเ​ครื่องม​ ือ​มาตรฐาน​ทางการ​แนะแนว​และ​การ​ใช้​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ทางการแ​ นะแนว

              หลงั ​จาก​ศึกษาเ​นอื้ หา​สาระเ​รอ่ื ง​ท่ี 2.3.1 แลว้ โปรด​ปฏบิ ตั ิ​กิจกรรม 2.3.1
                      ใน​แนวก​ าร​ศึกษาห​ น่วยท​ ี่ 2 ตอนท​ ี่ 2.3 เรอ่ื งท​ ี่ 2.3.1

                           ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112