Page 222 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 222

5-42 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
       1. 	กลมุ่ ท​ ฤษฎท​ี เ​่ี นน้ เ​นอื้ หาข​ องก​ ารจ​ งู ใจ เป็นท​ ฤษฎีท​ ีพ่​ ยายามอ​ ธิบายถ​ ึงค​ วามต​ ้องการข​ องม​ นุษย์ หรือป​ ัจจัย​

ภายใน​ตัว​บุคคล​ที่​ส่ง​ผล​ต่อ​พฤติกรรม​ของ​มนุษย์​ที่​ผู้​บริหาร​ต้อง​ทำความ​เข้าใจ และ​หา​ทาง​สนอง​ความ​ต้องการ​เหล่า​
นั้น เพื่อท​ ี่​จะ​สามารถจ​ ูงใจ​ให้​คน​ทำงาน ได้แก่ ทฤษฎี​ลำดับข​ ั้น​ความ​ต้องการ (Hierarchy of Needs) ของ อับร​ าฮ​ ัม
มาสโ​ลว์ (Abraham Maslow) ทฤษฎีค​ วามต​ ้องการ (Needs Theory) ของ เดวิด ซี แมคค​ลิล​แลนด์ (David C.
McClelland) ทฤษฎคี​ วามต​ ้องการ ERG (ERG Theory) ของ เคลต์​ ัน พี อัลเดอ​ ร์เ​ฟอร์ (Clayton P. Alderfer) และ
ทฤษฎี​สอง​ปัจจัย (Two factors Theory) ของ เฟรดเดอ​ ร์​ริก เฮอ​ ร์ซ​เบอร์​ก (Frederick Herzber)

       2. 	กลมุ่ ท​ ฤษฎท​ี เ​ี่ นน้ ก​ ระบวนการข​ องก​ ารจ​ งู ใจ เปน็ ท​ ฤษฎท​ี พี​่ ยายามอ​ ธบิ ายว​ า่ แ​ รงจ​ งู ใจเ​กดิ ข​ ึน้ ไ​ดอ​้ ยา่ งไร หรอื ​
อธิบาย​ถึง​กระบวนการ​ของ​ปฏิสัมพันธ์​ระหว่าง​ปัจจัย​ภายใน​และ​ปัจจัย​ภายนอก​ที่​มี​อิทธิพล​ต่อ​การ​จูงใจ (พิมลจรรย์
นามว​ ัฒน์ 2544: 6) ที่เ​ป็น​ที่มาข​ องพ​ ฤติกรรม​ของ​มนุษย์ ซึ่งจ​ ะช​ ่วย​ให้​ผู้​บริหารเ​ข้าใจ และส​ ามารถน​ ำม​ าใ​ช้​ใน​การจ​ ูงใจ​
บุคลากร​ได้ ได้แก่ ทฤษฎีค​ วาม​คาด​หวัง (Expectancy Theory) ของ วิกเ​ตอร์ เอช วร​ ูม (Victor H. Vroom) ทฤษฎ​ี
การ​จูงใจโ​ดยก​ ารเ​สริม​แรง (Reinforcement Theory) ของ บี เอฟ สกิน​เนอ​ร์ (B. F. Skinner) ทฤษฎีค​ วาม​เสมอ​
ภาค (Equity Theory) ของ ส​เต​ซี เจมส์ อดัมส์ (Stacy James Adams) และ​ทฤษฎีก​ าร​กำหนดเ​ป้า​หมาย (Goal
Setting Theory) ของ เอ็ดว​ ิน เอ ล็อก (Edwin A. Locke)

  กจิ กรรม 5.2.2
         จงย​ ก​ตัวอยา่ ง​ทฤษฎกี​ าร​จงู ใจท​ ่ี​สำคัญ 5 ทฤษฎี

  แนว​ตอบก​ จิ กรรม 5.2.2
         ทฤษฎกี​ ารจ​ งู ใจ​ท่ีส​ ำคัญ ไดแ้ ก่
         1. 	ทฤษฎ​ีลำดับ​ข้นั ​ความ​ต้องการ (Hierarchy of Needs) ของ Abraham Maslow
         2. 	ทฤษฎี X และ​ทฤษฎี Y ของ Douglas McGregor
         3.	 ทฤษฎค​ี วาม​คาด​หวัง (Expectancy Theory) ของ Victor H. Vroom
         4. 	ทฤษฎีค​ วามเ​สมอภ​ าค (Equity Theory) ของ Stacy James Adams
         5. 	ทฤษฎีส​ อง​ปัจจัย (Two factors Theory) ของ Frederick Herzberg

                             ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227