Page 218 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 218

5-38 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

            2.2 ความ​ต้องการ​ความ​ปลอดภัย​และ​ความ​มั่นคง (safety and security needs) เป็น​ความ​ต้องการ​
เกี่ยว​กับ​ความป​ ลอดภัย​และ​ความม​ ั่นคงใ​นช​ ีวิตแ​ ละอ​ าชีพ

            2.3 ความ​ต้องการ​การย​ อมรับ (social or love needs) ต้องการท​ ี่จ​ ะ​มีก​ ลุ่ม​ทำงาน มีเ​พื่อน มี​สังคม และ​
มี​ปฏิสัมพันธ์ก​ ับผ​ ู้อ​ ื่น

            2.4 ความ​ต้องการ​เกียรติยศ​ชื่อ​เสียง (esteem needs) ต้องการ​ได้​รับ​การ​ยอมรับ​นับถือ สรรเสริญ​จาก​
สังคม

            2.5 ความต​ อ้ งการค​ วามส​ ำเรจ็ ใ​นช​ วี ติ (self-actualization or self-fulfillment needs) ตอ้ งการพ​ ฒั นาต​ นเอง
ได้ส​ ร้างสรรค์​และ​พึงพ​ อใจ​ในง​ าน และ​ประสบ​ความส​ ำเร็จ​อย่าง​แท้จริง

       3. 	ทฤษฎก​ี ารจ​ งู ใจโ​ดยก​ ารเ​สรมิ แ​ รง (Reinforcement Theory) ของ บี เอฟ สกินเ​นอร​ ์ (B. F. Skinner, 1974)
ทฤษฎีก​ ารจ​ ูงใจโ​ดยก​ ารเ​สริมแ​ รงเ​ป็นท​ ฤษฎีท​ ี่เ​ชื่อว​ ่าพ​ ฤติกรรมท​ ี่เ​กิดข​ ึ้นท​ ั้งหมดข​ ึ้นอ​ ยู่ก​ ับก​ ารก​ ำหนดเ​งื่อนไขใ​ห้เ​ป็นไ​ป
ซึ่งเ​งื่อนไขด​ ัง​กล่าว​เป็นการ​เสริม​แรง​ใน 2 ลักษณะ คือ​เสริม​แรงใ​น​ทางบ​ วกใ​น​กรณีท​ ี่​มี​พฤติกรรมท​ ี่พ​ ึง​ประสงค์เ​กิดข​ ึ้น​
ก็​ให้​สิ่ง​จูงใจ​เพื่อ​เสริม​แรง​ให้​เกิด​พฤติกรรม​ที่​พึง​ประสงค์​เช่น​นั้น​อีก ส่วน​เสริม​แรง​ใน​ทาง​ลบ​นั้น​จะ​ใช้​การ​ลงโทษ​ด้วย
​วิธีก​ ารต​ ่างๆ ในก​ รณี​ที่​มี​พฤติกรรมไ​ม่พ​ ึงป​ ระสงค์เ​กิดข​ ึ้น เพื่อร​ ะงับ​หรือ​ยับยั้ง​มิ​ให้​เกิดพ​ ฤติกรรมท​ ี่​ไม่พ​ ึงป​ ระสงค์เ​ช่น​
นั้นอ​ ีก

       4. 	ทฤษฎี X และท​ ฤษฎี Y ของ ดักลาส แมก​เกรเ​กอร์ (Douglas McGregor, 1960) ได้​จำแนก​คนอ​ อกเ​ป็น
2 กลุ่ม ดังนี้

            4.1 ทฤษฎี X: มุม​มองก​ าร​ควบคุมบ​ ังคับบ​ ัญชา​ที่​เก่าแ​ ก่ มี​สมมติฐาน​ดังนี้
                4.1.1 มนุษย์โ​ดย​ทั่วไปไ​ม่​ชอบท​ ำงาน และจ​ ะห​ ลีกเ​ลี่ยงถ​ ้าท​ ำได้
                4.1.2 เนื่องจาก​ความ​ไม่​ชอบ​ทำงาน​ของ​มนุษย์ คน​ส่วน​ใหญ่​จึง​ต้อง​ถูก​บังคับ ควบคุม กำกับ

คุกคาม ด้วยก​ าร​ลงโทษเ​พื่อใ​ห้ใ​ช้ค​ วาม​พยายาม​อย่าง​พอ​เพียง​ที่​จะบ​ รรลุ​วัตถุประสงค์​ของ​องค์การ
                4.1.3 มนุษย์​โดย​ทั่วไป​ชอบ​การ​ควบคุม ปรารถนา​ที่​จะ​หลีก​หนี​ความ​รับ​ผิด​ชอบ มี​ความ​

ทะเยอทะยาน​เพียงเ​ล็กน​ ้อย แต่ต​ ้องการค​ วาม​มั่นคง​เหนือส​ ิ่ง​อื่น​ใด
            4.2 ทฤษฎี Y: กา​รบู​รณาก​ าร​เป้าห​ มายส​ ่วน​บุคคล​กับเ​ป้าห​ มาย​ของ​งาน มีส​ มมติฐาน​ดังนี้
                4.2.1 ค่า​ใช้​จ่าย​เกี่ยวก​ ับ​สุขภาพแ​ ละ​จิตใจใ​น​งานเ​ป็น​ธรรมชาติเ​หมือนเ​ล่น​หรือพ​ ักผ​ ่อน มนุษย์​

โดยท​ ั่วไปช​ อบท​ ำงาน ขึ้นอ​ ยู่ก​ ับเ​งื่อนไขก​ ารค​ วบคุม งานอ​ าจเ​ป็นท​ ี่มาข​ องค​ วามพ​ ึงพ​ อใจ (และจ​ ะเ​ป็นค​ วามส​ มัครใ​จท​ ำ)
หรือเ​ป็น​ที่มาข​ อง​การล​ งโทษ (และ​จะ​หลีก​เลี่ยงถ​ ้าเ​ป็นไ​ป​ได้)

                4.2.2 การ​ควบคุมภ​ ายนอก​และ​การล​ งโทษ ไม่ใช่ห​ นทาง​เดียวท​ ี่​จะ​นำ​มา​ซึ่ง​ความพ​ ยายาม​บรรล​ุ
วัตถุประสงค์​ของอ​ งค์การ คน​จะก​ ำกับ​ตนเอง​และ​ควบคุม​ตนเองเ​พื่อ​วัตถุประสงค์​ที่​เขาผ​ ูกพัน

                4.2.3 รางวัล​ทำให้​คน​ผูกพัน​กับ​วัตถุประสงค์​ที่​มี​ความ​สัมพันธ์​กับ​ความ​สำเร็จ รางวัล และส​ ิ่ง​
อื่นๆ ทำให้บ​ รรลุ​ถึงค​ วาม​ต้องการ​และ​ความ​สำเร็จ​ใน​ชีวิต สามารถก​ ำกับค​ วามพ​ ยายามใ​นก​ าร​บรรลุ​วัตถุประสงค์ข​ อง​
องค์การ

                4.2.4 มนุษย์​โดย​ทั่วไป​เรียน​รู้​ภาย​ใต้​ระเบียบ​แบบแผน​ที่แท้​จริง มิใช่​เพื่อ​ยอมรับ​แต่​เพื่อ​การ​
แสวงหา​ความร​ ับ​ผิดช​ อบ การ​หลีก​เลี่ยงค​ วาม​รับผ​ ิด​ชอบ การข​ าดค​ วาม​ทะเยอทะยาน และก​ าร​เน้น​ความ​มั่นคงจ​ ะเ​ป็น​
เรื่องป​ กติ​ของล​ ำดับ​ขั้นข​ อง​ประสบการณ์ มิใช่โ​ดยส​ ันดานข​ องม​ นุษย์

                 4.2.5 ความ​สามารถ​ใน​การ​ฝึกหัด​มี​ความ​สัมพันธ์​อย่าง​มาก​ต่อ​การ​จินตนาการ ช่าง​คิด​และ​
สร้างสรรค์​ใน​การแ​ ก้ป​ ัญหาอ​ งค์การในห​ มู่ป​ ระชากรอ​ ย่างก​ ว้างข​ วาง

                             ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223