Page 214 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 214
5-34 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
สำคัญและจำเป็นสำหรับทุกองค์การ การจูงใจจะช่วยส่งเสริมพฤติกรรมการทำงานในลักษณะที่ใช้ความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ได้ท ันต่อก ารเปลี่ยนแปลงที่เกิดข ึ้น
2.2.4 ช่วยให้องค์การสามารถร ักษาคนดีให้อยู่กับองค์ก ารนานๆ การจูงใจนอกจากจะช่วยสร้างความ
รู้สึกที่ดีของบุคลากรที่มีต่อผู้บริหารและต่อองค์การให้เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดความรู้สึกผูกพันต่อองค์การ ทำให้
องค์การส ามารถรักษาบ ุคลากรดีๆ ให้ทำงานกับอ งค์การ นานๆ หรือต ลอดไปได้
2.3 ความส ำคัญต่อบคุ ลากร นอกจากก ารจ ูงใจจะม ีความสำคัญต่อผ ู้บริหารและต่ออ งค์กรดังที่ได้กล่าวแ ล้ว
การจูงใจย ังมีความส ำคัญต่อบ ุคลากรด้วย ดังนี้
2.3.1 ช่วยให้บุคลากรทำงานโดยสามารถสนองวัตถุประสงค์ขององค์การและวัตถุประสงค์หรือความ
ต้องการของต นเองได้พร้อมๆ กัน คือเมื่อบุคลากรได้รับก ารจูงใจให้ทำงานอ ย่างเต็มก ำลังค วามสามารถ นอกจากจ ะ
ช่วยให้องค์การจะบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ยังช่วยให้บุคลากรได้รับสิ่งจูงใจซึ่งอาจจะเป็นรางวัล
ในรูปข องเงิน หรือส ิ่งที่ม ิใช่เงิน ซึ่งอ าจจ ะร วมถึงความก ้าวหน้าในตำแหน่งห น้าที่การง านด ้วย จึงก ล่าวได้ว่า การจ ูงใจ
ช่วยให้บุคลากรทำงานโดยสามารถสนองวัตถุประสงค์ขององค์การและวัตถุประสงค์หรือความต้องการของตนเองได้
พร้อมๆ กัน
2.3.2 ได้รับความยุติธรรมจากองค์การและฝ่ายบริหาร เมื่อองค์การใช้การจูงใจบุคลากรด้วยวิธีการ
ต่างๆ เพื่อให้เกิดพ ฤติกรรมท ี่พ ึงป ระสงค์ บุคลากรท ี่ม ีพ ฤติกรรมท ี่พ ึงป ระสงค์ก ็จ ะได้ร ับส ิ่งท ี่ด ีๆ เป็นร างวัลต อบแทน
ตามกำลังค วามสามารถที่บ ุคลากรแ ต่ละคนได้ท ุ่มเทให้ก ับงาน จึงน ับว่าบ ุคลากรได้ร ับความย ุติธรรมจากอ งค์การแ ละ
ฝ่ายบริหาร
2.3.3 มขี วัญก ำลังใจในก ารท ำงาน บุคลากรท ี่ไดร้ ับก ารจ ูงใจห รือม ีแ รงจ ูงใจ โดยท ั่วไปม ักจ ะเห็นว ่าง าน
ที่ท ำเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่ต นต้องการได้ และช่วยให้ตระหนักในคุณค่าของตนเอง
ได้ เนื่องจากได้ร ับความสนใจและก ารปฏิบัติจากฝ ่ายบ ริหารในฐ านะที่เป็นทรัพยากรท ี่มีช ีวิตจ ิตใจมิใช่ว ัตถุ ทำให้เกิด
ความภ าคภ ูมิใจ มีขวัญก ำลังใจ และก ระตือรือร้นในการป ฏิบัติงาน
2.3.4 มีความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การง าน เมื่อบ ุคลากรมีแรงจูงใจในการปฏิบัติ ทำให้เกิดค วาม
ภาคภ ูมิใจ มีข วัญกำลังใจ และก ระตือรือร้นในการปฏิบัติง าน ทำให้ป ระสบค วามส ำเร็จในง านอ ย่างด ีท ้ายที่สุดแล้วก ็
จะทำให้บุคลากรเหล่านั้นมีค วามก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ก ารง านท ี่รวดเร็วข ึ้นด้วย
3. องคป์ ระกอบของการจงู ใจ
เมื่อการจูงใจสามารถชักนำหรือผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ออกมาเพื่อการบรรลุ
วัตถุประสงค์ขององค์การที่กำหนดไว้ดังได้กล่าวมาแล้ว นั่นคือ พฤติกรรมของบุคคลเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ต้องมี
แรงจูงใจ หรือมีสิ่งเร้าเป็นตัวกระตุ้นโดยมีสิ่งจูงใจเป็นเครื่องมือ ดังนั้น การจูงใจจึงประกอบด้วย แรงจูงใจ และ
สิ่งจูงใจ ดังนี้27
3.1 แรงจ งู ใจ (Motive) หมายถึง ความปรารถนาภายในตัวบุคคลที่กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ที่บุคคลนั้นต้องการ แรงจูงใจอาจเกิดจากความต้องการของบุคคลที่ทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรม
ออกมา เช่น เมื่อบ ุคคลเกิดความหิว พฤติกรรมท ี่แสดงออกม าคือ การหาอ าหารร ับป ระทาน เมื่อบ ุคคลเหน็ดเหนื่อย
27 ปรับจ าก ราณี อิสิช ัยก ุล “การจ ูงใจบ ุคลากร” ใน เอกสารก ารส อนช ุดว ิชาองค์การแ ละก ารจ ัดการง านบ ุคคล สาขาว ิชาว ิทยาการจ ัดการ
มหาวิทยาลัยส ุโขทัยธรรมาธิราช 2537 หน้า 183-184
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช