Page 216 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 216

5-36 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

            2. การ​ขยาย​ขอบเขต​งาน (Job Enlargement) หมาย​ถึง การเ​พิ่มง​ าน หรือก​ ิจกรรม​ใน​ระดับ​เดียวกัน​
ให้​บุคลากร​รับ​ผิด​ชอบ​มาก​ขึ้น นั่น​คือ​บุคลากร​นั้น​ต้อง​มี​ภาระ​รับ​ชอบ​เพิ่ม​มาก​ขึ้น ซึ่ง​นอกจาก​จะ​ท้าทาย​บุคลากร​ได้​
ทาง​หนึ่ง​แล้ว ยัง​แสดง​ให้​เห็น​ว่า​ผู้​บริหาร​เห็น​ความ​สามารถ หรือ​ยอมรับ​ใน​ความ​สามารถ​ของ​บุคลากร​ผู้​นั้น ซึ่ง​จะ​ยิ่ง​
เป็นการ​สร้าง​แรง​จูงใจใ​นก​ าร​ทำงาน​ให้แ​ ก่บ​ ุคลากรม​ ากย​ ิ่ง​ขึ้น

            3. การ​เพิ่ม​คุณค่า​งาน (Job Enrichment) หมาย​ถึง การ​เพิ่ม​หรือ​ขยาย​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ใน​งาน​ของ​
บุคลากร​ให้ม​ ากข​ ึ้น ทำให้​บุคลากร​เกิดค​ วามภ​ าคภ​ ูมิใจใ​น​งาน​มาก​ขึ้น เช่น เพิ่มอ​ ำนาจห​ น้าที่​ให้ม​ าก​ขึ้น ลด​การค​ วบคุม​
บังคับ​บัญชา หรือ​ให้อ​ ำนาจ​ในก​ าร​ตัดสิน​ใจใ​น​งานใ​ห้​บุคลากรม​ ี​อิสระ​ในก​ าร​ทำงานม​ ากข​ ึ้น

  กจิ กรรม 5.2.1
         จง​อธิบายค​ วามห​ มาย ความส​ ำคัญ และอ​ งค์​ประกอบ​ของก​ าร​จงู ใจ

  แนว​ตอบก​ ิจกรรม 5.2.1
         การจ​ ูงใจ  หมาย​ถึง กระบวนการ​ของ​ความพ​ ยายามใ​นก​ าร​ชกั นำ​หรอื ​ผลกั ด​ นั ​ใหบ​้ คุ คล​แสดงพ​ ฤตกิ รรม​

  หรือป​ ฏิบัติ​ใน​สง่ิ ​ที​ต่ นต​ อ้ งการด​ ้วยค​ วามต​ ้งั ใจ​เพ่ือ​การ​บรรลเุ​ปา้ ​หมายท​ ี​ก่ ำหนดไ​ว้
         การจ​ ูงใจ​มี​ความส​ ำคัญท​ ัง้ ต​ อ่ ผ​ ​บู้ ริหาร ตอ่ ​องค์การ และต​ อ่ บ​ ุคลากร
         องค​์ประกอบข​ องก​ ารจ​ งู ใจ ประกอบด​ ว้ ย แรง​จงู ใจ และ​สงิ่ ​จูงใจ
              - 	 แรงจ​ งู ใจ (Motive) หมายถ​ งึ ความป​ รารถนาภ​ ายในต​ วั บ​ คุ คลท​ ก​่ี ระตนุ้ ใ​หบ​้ คุ คลแ​ สดงพ​ ฤตกิ รรม​

  เพือ่ ​ใหบ้​ รรลุว​ ตั ถปุ ระสงค์ท​ ีบ่​ ุคคลน​ น้ั ​ต้องการ
              - 	 สงิ่ จ​ ูงใจ (Incentive) หมายถ​ ึง ส่งิ ท​ ชี​่ กั นำ​หรือ​จงู ใจใ​หบ้​ คุ คลแ​ สดง​พฤตกิ รรมอ​ อก​มา สิ่งจ​ ูงใจ​

  ใน​องค์การ​เป็น​สิ่ง​ที่​จะ​กระตุ้น​ให้​บุคคล​เกิด​การ​จูงใจ​ใน​การ​ทำงาน เช่น ส่ิง​จูงใจ​ใน​แง่​บวก ได้แก่ เงิน ตำแหน่ง
  และ​สิ่ง​จูงใจแ​ ง่ล​ บ ไดแ้ ก่ การ​ลงโทษต​ ่างๆ

เรอ่ื ง​ท่ี 5.2.2
ทฤษฎเี​ก่ียวก​ ับ​การจ​ ูงใจ

       นัก​วิชาการ​และ​ผู้​บริหาร​ได้​ตระหนัก​ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​การ​จูงใจ​มา​ช้า​นาน โดย​ตั้งแต่​ศตวรรษ​ที่ 19 ได้​มี​
การ​ใช้​การ​จูงใจ​เป็น​เครื่อง​มือ​สำคัญ​ใน​การ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​ใน​การ​ทำงาน ซึ่ง​ใน​ช่วง​เริ่ม​แรก​นั้น​สิ่ง​จูงใจ​จะ​มุ่ง​เน้น​ที่​
ค่า​ตอบแทน​หรือต​ ัวเ​งินเ​ป็น​หลัก ต่อจ​ ากน​ ั้นไ​ด้ม​ ีน​ ักค​ ิด นักว​ ิชาการ และน​ ัก​จิตวิทยา​ตลอดจ​ น​นักบ​ ริหารไ​ด้พ​ ยายาม​
คิดค้น​หาว​ ิธี​การ​จูงใจห​ รือส​ ิ่งจ​ ูงใจที่จ​ ะ​มีอ​ ิทธิพลต​ ่อก​ ารแ​ สดงพ​ ฤติกรรม​ของ​บุคคล​ในร​ ะดับ​ต่างๆ อย่างแ​ ท้จริง ทำให​้
ทฤษฎก​ี ารจ​ งู ใจเ​กดิ ข​ ึน้ ม​ ากมายต​ อ่ จ​ ากท​ ฤษฎก​ี ารจ​ ดั การแ​ บบว​ ทิ ยาศาสตร์ (Scientific Management) ของ Frederick
W. Taylor ซึ่งอ​ าจ​สรุป​แนวคิดท​ ฤษฎี​เกี่ยวก​ ับ​การจ​ ูงใจข​ อง​นัก​วิชาการ​ต่างๆ ที่ส​ ำคัญๆ ได้ ดังนี้

       1. 	ทฤษฎี​การ​จัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์ (Scientific Management) ของ เฟรดเด​อร์​ริก วินสโลว์ เท​ย์เลอ​ร์
(Frederick W. Taylor, 1964) ซึ่งม​ ุ่งเ​น้น​ถึง​ประสิทธิภาพ​ใน​การป​ ฏิบัติ​งานโ​ดย​มี​หลัก​การส​ ำคัญ 4 ประการ คือ

                             ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221