Page 212 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 212
5-32 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
เรอื่ งท ี่ 5.2.1
แนวคดิ เกย่ี วกบั ก ารจูงใจ
ในเรื่องแนวคิดเกี่ยวกับก ารจ ูงใจ จะน ำเสนอเนื้อหาเกี่ยวก ับความห มาย ความส ำคัญ และองค์ประกอบข อง
การจูงใจ ดังนี้
1. ความหมายของก ารจ งู ใจ
การจูงใจ (motivation) ตามพจนานุกรมศัพท์ทางส ังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตสถาน (2524: 235) หมายถึง
การสร้างแรงด ลใจให้เกิดการกระทำที่ต ั้งใจแ ละม ุ่งประสงค์ผล
การจูงใจ หมายถึง การหนุน การผลักดันจากภายนอก อำนาจที่ผลักดันหรือแรงจูงใจ (ไพบูลย์ ช่างเรียน
2516: 145)
การจูงใจ หมายถ ึง ความเต็มใจข องบุคคลท ี่จะใช้พลังเพื่อให้ป ระสบค วามส ำเร็จในเป้าห มาย รางวัล หรือผ ล
ตอบแทน เป็นส ิ่งสำคัญส ำหรับการกร ะทำของบุคคล และเป็นสิ่งท ี่กระตุ้นให้บุคคลบ รรลุว ัตถุประสงค์เกี่ยวกับรางวัล
ที่จ ะได้รับ (Dale S. Beach อ้างถ ึงในจุมพล หนิมพาน ิช 2544: 41)
การจูงใจ หมายถึง การทำให้บุคคลในองค์การมีพฤติกรรมการทำงานที่พึงประสงค์ ด้วยกระบวนการสร้าง
พลังก ระตุ้นท ีท่ ำใหบ้ ุคคลเต็มใจท ี่จ ะใช้ค วามส ามารถข องต น และช ักนำให้บ ุคคลเลือกม ีพ ฤติกรรมต ่างๆ ไปในท ิศทาง
ที่ม ุ่งสู่ก ารบรรลุผ ลสำเร็จตามเป้าหมายที่อ งค์การต ้องการ (พิมลจรรย์ นามว ัฒน์ 2544: 47)
ดงั น ัน้ จงึ อ าจส รปุ ไดว้ า่ การจ งู ใจ หมายถ งึ กระบวนการข องค วามพ ยายามในก ารช กั นำห รอื ผ ลักด นั ใหบ้ คุ คล
แสดงพ ฤติกรรมหรือป ฏิบัติในสิ่งท ี่ต นต ้องการด้วยค วามตั้งใจเพื่อการบรรลุเป้าหมายท ี่ก ำหนดไว้
2. ความส ำคญั ข องก ารจ งู ใจ
ดังได้กล่าวแล้วว่า การจูงใจ เป็นกระบวนการของความพยายามในการชักนำหรือผลักดันให้บุคคลแสดง
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ออกมาเพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ การจูงใจจึงเป็นเครื่องมือสำคัญของผู้บริหาร
ในก ารท ี่จ ะท ำให้บ ุคลากรท ุ่มเทค วามร ู้ ความส ามารถ ทักษะ กำลังก าย กำลังใจให้แ ก่ง านข องอ งค์การ เป็นส ิ่งท ี่จ ะช ่วย
เสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่บ ุคลากรแต่ละค นเสริมสร้างความร ู้สึก ทัศนคติที่ดีและความจงรักภักดีต่อผ ู้บริหาร
และต อ่ อ งคก์ าร สรา้ งค วามม ัน่ ใจในค วามม ัน่ คงข องอ งคก์ าร ชว่ ยก ระตุน้ ใหเ้ กดิ ค วามค ดิ ร เิ ริม่ ส รา้ งสรรค์ สรา้ งว สิ ยั ทศั น์
ช่วยควบคุมกำกับการปฏิบัติงานให้ดำเนินไปอย่างราบรื่น และบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่ความ
เจริญก้าวหน้าทั้งแ ก่บ ุคลากรและอ งค์การ อีกท ั้งยังช่วยแบ่งเบาภ าระผู้บังคับบ ัญชาในการต ิดตาม กำกับ ควบคุมก าร
ปฏิบัติงานข องบุคลากร เพราะบ ุคลากรทุกคนจ ะทุ่มเทค วามพ ยายามให้ก ับง านอ ย่างเต็มท ี่ จึงก ล่าวได้ว่าการจูงใจน ั้น
มีความสำคัญทั้งต ่อผ ู้บ ริหาร ต่อองค์การ และต ่อตัวบ ุคลากรด ้วย ดังนี้26
26 ปรับจ าก พ ิมลจ รรย์ นามว ัฒน์ “การจ ูงใจบ ุคลากร” ใน เอกสารการส อนชุดวิชาการจัดการทรัพยากรม นุษย์ (ฉบับป รับปรุง) นนทบุรี
สาขาว ิชาว ิทยาการจ ัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2544 หน้า 47-49
ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช