Page 211 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 211
ผู้นำแ ละการจ ูงใจ 5-31
ตอนท่ี 5.2
แนวคดิ และท ฤษฎเีก่ียวกบั การจงู ใจ
โปรดอ่านห ัวเรื่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ข องต อนท ี่ 5.2 แล้วจึงศ ึกษารายล ะเอียดต่อไป
หัวเรอ่ื ง
5.2.1 แนวคิดเกี่ยวก ับก ารจ ูงใจ
5.2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับก ารจูงใจ
5.2.3 ปัจจัยจ ูงใจ
แนวคิด
1. ก ารจูงใจ หมายถึง กระบวนการของความพยายามในการชักนำหรือผลักดันให้บุคคลแสดง
พฤติกรรมหรือปฏิบัติในสิ่งที่ตนต้องการด้วยความตั้งใจเพื่อการบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดย
การจูงใจมีความสำคัญในหลายประการ ทั้งต่อผู้บริหาร ต่อองค์การ และต่อบุคลากร การจูงใจ
ประกอบด้วยอ งค์ประกอบ 2 ประการ คือ แรงจ ูงใจ และสิ่งจ ูงใจ
2. น ักว ิชาการแ ละผ ู้บ ริหารได้ต ระหนักถ ึงค วามส ำคัญข องก ารจ ูงใจม าช ้าน าน โดยต ั้งแต่ศ ตวรรษท ี่ 19
ได้มีการใช้การจูงใจเป็นเครื่องมือสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ซึ่งในช่วงเริ่มแรก
นั้นสิ่งจูงใจจะมุ่งเน้นที่ค่าตอบแทนหรือตัวเงินเป็นหลัก ต่อจากนั้นได้มีนักคิด นักวิชาการ และ
นักจิตวิทยา ตลอดจนนักบริหารได้พยายามคิดค้นหาวิธีการจูงใจหรือสิ่งจูงใจที่จะมีอิทธิพลต่อ
การแสดงพฤติกรรมของบุคคลในระดับต่างๆ อย่างแท้จริง ทำให้ทฤษฎีเกี่ยวกับการจูงใจเกิดขึ้น
มากมาย ได้แก่ 1) ทฤษฎีก ารจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ 2) ทฤษฎีลำดับข ั้นความต ้องการ 3) ทฤษฎี
การจูงใจโดยก ารเสริมแ รง 4) ทฤษฎี X และท ฤษฎี Y 5) ทฤษฎีความต ้องการ 6) ทฤษฎีค วามค าด
หวัง 7) ทฤษฎีความเสมอภาค 8) ทฤษฎีการกำหนดเป้าหมาย 9) ทฤษฎีความต้องการ ERG 10)
ทฤษฎีส องป ัจจัย และ 11) ทฤษฎี Z
3. ส ิ่งท ี่น ักว ิชาการห ลายท ่านเห็นร ่วมก ันว ่าเป็นปัจจัยจูงใจ ได้แก่ 1) เงิน หรือรางวัลตอบแทน ความ
มั่นคง ปลอดภัย 2) การยอมรับจากสังคม เพื่อนฝูง 3) เกียรติยศชื่อเสียง การยอมรับนับถือ
4) ความส ำเร็จในช ีวิต 5) ความรับผิดช อบ 6) ความส ำเร็จในง าน และ 7) การค วบคุมท ี่เหมาะสม
นอกจากนี้แล้วย ังมีปัจจัยอ ื่นๆ อีกหลายประการที่เป็นปัจจัยจูงใจด้วย
วัตถุประสงค์
เมื่อศ ึกษาตอนที่ 5.2 จบแล้ว นักศึกษาส ามารถ
1. อธิบายแ นวคิดเกี่ยวก ับการจูงใจได้
2. อธิบายทฤษฎีเกี่ยวก ับการจูงใจได้
3. อธิบายป ัจจัยจ ูงใจต ่างๆ ได้
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช