Page 221 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 221
ผู้นำและการจูงใจ 5-41
(4) สภาพการทำงาน (Physical working conditions) และความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน
(Interpersonal relations)
ปัจจัยเหล่านี้ไม่ได้เป็นป ัจจัยท ี่จ ะท ำให้ผ ลผลิตเพิ่มขึ้น หรือป ระสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มข ึ้น หรือช่วย
สร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้นแต่อย่างใด แต่จะเป็นข้อกำหนดเบื้องต้นเพื่อป้องกันไม่ให้คนไม่พอใจในงานที่ทำอยู่
เท่านั้นเอง และถ้าห ากองค์การจัดปัจจัยเหล่านี้ไม่เหมาะสมก็จะสร้างความไม่พอใจในง านเพิ่มมากข ึ้น
2) ปัจจัยท ี่ทำให้เกิดความพึงพอใจในงานท ี่ทำเป็นป ัจจัยที่เกี่ยวข้องก ับความร ู้สึกในท างบ วกก ับงานท ี่
ปฏิบัติ และเกี่ยวข้องกับเนื้อหาของงานที่ปฏิบัติ เพราะทุกคนต้องการประสบความสำเร็จในทุกเรื่องในชีวิต และงาน
ก็เป็นเรื่องที่สำคัญที่สุด โดยปัจจัยที่จะทำให้บุคคลได้รับการจูงใจ หรือแรงจูงใจในการเพิ่มผลผลิต เรียกว่า ปัจจัย
จูงใจ (Satisfiers or Motivator Factors) ได้แก่
(1) ความส ำเร็จในง าน (Achievement)
(2) การได้รับการยอมรับน ับถือในความส ำเร็จ (Recognition for achievement)
(3) ลักษณะข องง าน (Interest in the task)
(4) ความรับผิดช อบในง านท ี่มากขึ้น (Responsibility for enlarged task)
(5) โอกาสความก้าวหน้าในง าน (Growth and advancement to higher level tasks)
ดังน ั้น ถ้าต ้องการก ระตุ้นห รือจ ูงใจใหผ้ ูร้ ่วมง านท ำงานอ ย่างเต็มท ี่ องค์การแ ละผ ูบ้ ริหารก ต็ ้องจ ัดป ัจจัย
เหล่านี้ให้เหมาะส ม
11. ทฤษฎี Z ของ อูชิ (Ouchi’s Theory Z) วิลเลียม อูชิ (William G. Ouchi, 1982) ได้เสนอทฤษฎี Z ซึ่ง
เป็นทฤษฎีทางการบริหารที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานระหว่างการบริหารแบบสหรัฐอเมริกากับการบริหารแบบญี่ปุ่น
กล่าวค อื ไดน้ ำแ นวคิดก ารบ ริหารข องส หรัฐอเมรกิ าท เี่ นน้ ก ารจ า้ งง านร ะยะส ั้น พนักงานม สี ่วนร ่วมแ ละค วามร บั ผ ิดช อบ
ต่ออ งค์การน ้อย มาผ สมผ สานก ับแ นวค วามค ิดก ารบ ริหารข องญ ี่ปุ่นท ีเ่น้นค วามส ำคัญข องท รัพยากรม นุษย์ เน้นก ารม ี
ส่วนร่วมข องค นง าน เน้นการจ้างง านร ะยะยาว ใช้ระบบอ าวุโส ให้ค วามสำคัญต่อค วามช ำนาญเฉพาะด ้าน ใช้กลุ่มเป็น
ผู้ต ัดสินใจเรื่องต ่างๆ มีค วามร ับผ ิดช อบต ่อส ่วนร วม กล่าวได้ว ่า ทฤษฎี Z เป็นการเติมเต็มก ันแ ละก ันร ะหว่างแ นวคิด
การบ รหิ ารข องส หรฐั อเมรกิ าแ ละแ นวคดิ ก ารบ รหิ ารข องญ ีป่ ุน่ ทำใหอ้ งคก์ ารม วี ฒั นธรรมท ชี่ ดั เจน มกี ารพ ฒั นาพ นกั งาน
ใช้ก ารต ัดสินใจแ ก้ไขป ัญหาร ่วมก ัน ทำให้ม ีก ารล าอ อกจ ากง านล ดล ง มีค วามผ ูกพันในง านม ากข ึ้น และเพิ่มผ ลผลิตได้
มากข ึ้น โดยท ฤษฎี Z มีค ุณลักษณะส ำคัญ คือ
1) การจ้างงานร ะยะย าว
2) การป ระเมินผ ลแ ละก ารเลื่อนตำแหน่งแบบค่อยเป็นค่อยไป
3) การต ัดสินใจร่วมก ันในล ักษณะกลุ่ม
3) ความรับผ ิดชอบร่วมกัน
5) การควบคุมท ี่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
6) เน้นความสามารถทั่วไปม ากกว่าค วามช ำนาญเฉพาะด้าน
7) การให้ความส นใจบ ุคคลโดยส ่วนร วม
แม้ว่าท ฤษฎี Z จะเป็นท ฤษฎีก ารบ ริหารด ังไดก้ ล่าวแ ล้ว แต่เป็นท ฤษฎที ีเ่น้นค วามส ำคัญต ่อท รัพยากร-
มนุษย์ และจ ากก ารนำแ นวคิดข องท ฤษฎีน ีม้ าใชใ้นก ารบ ริหาร ทำให้พ นักงานม คี วามผ ูกพันในง านแ ละอ งค์การม ากข ึ้น
การล าออกจากงานล ดล ง ตลอดจ นช่วยเพิ่มผ ลผลิตได้มากข ึ้น จึงนับว่าท ฤษฎี Z เป็นท ฤษฎีเกี่ยวกับก ารจูงใจด ้วย
จากทฤษฎีการจูงใจต่างๆ ดังกล่าว ได้มีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้จัดกลุ่มทฤษฎีการจูงใจออกเป็น
2 กลุ่มดังนี้
ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช