Page 219 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 219

ผู้นำแ​ ละก​ าร​จูงใจ 5-39

                4.2.6 ภายใ​ตเ้​งื่อนไขข​ องช​ ีวิตใ​นอ​ ุตสาหกรรมใ​หม่ ความร​ ู้ความส​ ามารถข​ องม​ นุษยท์​ ั่วไปส​ ามารถ​
ใช้ใ​ห้​เป็นป​ ระโยชน์​ได้

       ตามทฤษฎี X และทฤษฎี Y นั้น คนต​ ามทฤษฎี X จะข​ ี้​เกียจ ไม่​รับผ​ ิด​ชอบ ไม่​ชอบ​ทำงานจ​ ึงต​ ้อง​จูงใจด​ ้วย​
การ​บังคับ​ควบคุม​อย่าง​ใกล้​ชิด และ​การ​ลงโทษ ส่วน​คน​ตามทฤษฎี Y จะ​เป็น​คน​ขยัน รับ​ผิด​ชอบ มี​ความ​คิด​ริเริ่ม​
สร้างสรรค์ จึง​ต้องจ​ ูงใจด​ ้วย​การใ​ห้อ​ ิสระใ​นก​ าร​ควบคุม​ตนเอง

       5. 	ทฤษฎค​ี วามต​ อ้ งการ (Needs Theory) ของ เดวิด ซี แมคค​ลิลแ​ ลนด์ (David C. McClelland, 1961) ซึ่ง​
ศึกษาเ​ชื่อมโ​ยง​ระหว่างค​ วาม​ต้องการข​ อง​มนุษย์กับป​ ัจจัยแ​ วดล้อม​ที่​ก่อ​ให้​เกิดแ​ รง​จูงใจ​พื้น​ฐานข​ อง​มนุษย์ 3 ประการ
ได้แก่

            5.1 ความ​ตอ้ งการ​ความส​ ำเรจ็ (need for achievement: N-Ach) หมายถ​ ึง ความ​ต้องการ​ที่​จะ​ทำส​ ิ่ง​ใด​
สิ่ง​หนึ่งโ​ดย​เฉพาะท​ ี่เ​ป็น​เรื่องท​ ้าทาย​ให้ป​ ระสบ​ความ​สำเร็จ เกิดค​ วามภ​ าคภ​ ูมิใจ​ใน​ตนเอง โดย​ผู้​ที่ต​ ้องการค​ วามส​ ำเร็จ​
จะ​เป็นผ​ ู้​ที่ม​ ี​ความก​ ล้า​เสี่ยง ต้องการผ​ ลส​ ะท้อนก​ ลับ​ของ​งาน​ใน​ทันที และม​ ีค​ วามห​ มกมุ่นก​ ับ​งาน

            5.2 ความ​ต้องการ​อำนาจ (need for power: N-Pow) อำนาจค​ ือ​สิ่ง​จูงใจท​ ี่ย​ ิ่ง​ใหญ่ (McClelland and
Burnham, 1990: 119) ความ​ต้องการ​อำนาจ หมาย​ถึง ความ​ต้องการ​ที่​จะม​ ีอ​ ิทธิพล​เหนือ​ผู้​อื่น บังคับ หรือ​ควบคุม​
ให้ผ​ ู้​อื่น​ปฏิบัติต​ าม

            5.3 ความ​ตอ้ งการไ​ด้​เข้า​ร่วมใ​น​สงั คม (need for affiliation: N-Aff) หมายถ​ ึง ความต​ ้องการ​ที่​จะไ​ด้​รับ​
ความ​รัก​และ​การย​ อมรับจ​ ากเ​พื่อนร​ ่วมง​ าน หรือบุคคลอ​ ื่นๆ

       6.	 ทฤษฎ​คี วามค​ าดห​ วัง (Expectancy Theory) ของ วิก​เตอร์ เอช ว​รูม (Victor H. Vroom, 1995) เชื่อ​ว่า​
แรง​จูงใจ​เกิด​จาก​ผล​ได้ที่​บุคคล​คาด​หวัง​จะ​ให้​เกิด​ขึ้น​จาก​การก​ระ​ทำ​สิ่ง​ใด​สิ่ง​หนึ่ง​ของ​ตน โดย​บุคคล​จะ​ประเมิน​ความ​
เป็น​ไป​ได้ที่​เขา​จะ​ได้​รับ​รางวัล​ตอบแทน​ตาม​ที่​เขา​คาด​หวัง​ไว้​ใน​กรณี​ที่​เขา​ได้​ใช้​ความ​พยายาม​ใน​การ​ทำงาน​จน​ประสบ​
ความส​ ำเร็จ นั่นค​ ือ ความ​คาดห​ วัง​ดัง​กล่าวจ​ ะ​ทำให้​บุคคลเ​กิดแ​ รงจ​ ูงใจใ​น​การ​ปฏิบัติง​ านใ​ห้​ประสบ​ความ​สำเร็จ กล่าว​
โดยส​ รปุ ก​ ค็​ อื บคุ คลจ​ ะเ​กดิ พ​ ฤติกรรมท​ พี​่ ึงป​ ระสงคเ์​มื่อเ​ขาค​ าดไ​ดว้​ า่ พ​ ฤติกรรมน​ ั้นจ​ ะน​ ำไ​ปส​ รู่​ างวลั ต​ อบแทน ซึง่ ท​ ฤษฎ​ี
ความค​ าดห​ วัง​เป็นไ​ปต​ าม​สมการ​ดังนี้

       	
       					 การจ​ ูงใจ (Motivation) = V × E × I
       	
       V = Valence หมาย​ถึง ความช​ อบ คือ การร​ ับ​รู้​ของ​บุคคล​เกี่ยวก​ ับ​คุณค่าข​ องผ​ ล​ตอบแทนห​ รือร​ างวัลท​ ี่​จะ​
ได้ร​ ับ
       E = Expectancy หมาย​ถึง ความ​คาด​หวัง คือ​การ​รับ​รู้​ของ​บุคคล​ถึงค​ วามเ​ป็นไ​ป​ได้ที่ค​ วามพ​ ยายาม​ของ​เขา​
จะน​ ำไ​ป​สู่ค​ วามส​ ำเร็จ​ของ​ผลง​ านท​ ี่​ดีข​ ึ้น
       I = Instrumentality หมายถ​ ึง ความเ​ป็นเ​ครื่องม​ ือ คือ​การ​รับร​ ู้​ของ​บุคคล​ถึง​ความ​เป็น​ไปไ​ด้​ของผ​ ลง​ าน​ที​่
เกิดจ​ าก​ความพ​ ยายาม​ของ​เขา จะ​นำไ​ป​สู่ผ​ ลต​ อบแทนหรือร​ างวัล​ที่เ​ขาต​ ้องการ
       7. ทฤษฎ​ีความ​เสมอ​ภาค (Equity Theory) ของ ส​เตซ​ ี เจมส์ อดัมส์ (Stacy James Adams, quote in
David M. Messick & Karen S. Cook, 1983) ซึ่ง​เห็น​ว่า​บุคคล​ทุก​คน​มี​ความ​ปรารถนา​ที่​จะ​ได้​รับ​ความ​ยุติธรรม
ดัง​นั้น องค์การ​สามารถ​จูงใจ​ให้​บุคลากร​ทุ่มเท​หรือ​อุทิศ​ตน​ให้​กับ​การ​ทำงาน​อย่าง​เต็ม​ที่​ได้ หาก​บุคลากร​เห็น​ว่า​รางวัล​
หรือ​ผล​ตอบแทน​ที่​ตน​ได้​รับ​คุ้ม​ค่าหรือ​ยุติธรรม คือ​บุคคล​จะ​มี​แรง​จูงใจ​ใน​การ​ทำงานถ้า​ได้​รับ​ความ​ยุติธรรม​หรือ​
ความ​เสมอ​ภาค​ระหว่าง​ปัจจัย​นำ​เข้า (inputs) ของ​ตน หรือ​สิ่ง​ที่​ตน​ได้​ทุ่มเท​ลง​ไป กับ​รางวัล​หรือ​ผล​ตอบแทน​ที่​ได้​
รับ (outcomes) เมื่อเ​ปรียบ​เทียบก​ ับ​ปัจจัย​นำเ​ข้าข​ อง​บุคคล​อื่น และ​รางวัลห​ รือผ​ ล​ตอบแทนท​ ี่บ​ ุคคลอ​ ื่น​ได้​รับเ​ช่นก​ ัน
ดัง​แสดงไว้ในภาพท​ ี่ 5.10

                              ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224