Page 298 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 298

6-70 องค์การแ​ ละ​การจ​ ัดการ​และ​การ​จัดการท​ รัพยากร​มนุษย์

            1.2	 การ​ขาด​งาน (Absenteeism) เพื่อ​ลด​ความ​เสีย​หาย​จา​การ​ปฏิบัติ​งาน​ที่​ไม่มี​ความ​ต่อ​เนื่อง​อัน​เกิด​
จาก​การ​ลา​งาน หรือ​ขาด​งาน​ของ​พนักงาน องค์การ​จำเป็น​ต้อง​กำหนด​มาตรฐาน​ของ​การ​ขาด​งาน​ไว้ พร้อม​ทั้ง​ประเมิน​
สาเหตุแ​ ห่งก​ ารข​ าดง​ านท​ ี่ส​ ูงก​ ว่าม​ าตรฐานว​ ่าเ​กิดจ​ ากส​ าเหตุใ​ด ดังน​ ั้น ต้องม​ ีก​ ารบ​ ันทึกข​ ้อมูลก​ ารข​ าดง​ านข​ องพ​ นักงาน​
แต่ละค​ นแ​ ละน​ ำม​ าเ​ปรียบเ​ทียบก​ ับม​ าตรฐานท​ ีย่​ อมรับไ​ด้ การข​ าดง​ าน​ บ่อยๆ สามารถเ​ป็นเ​ครื่องช​ ีไ้​ดว้​ ่าพ​ นักงานค​ นน​ ั้น​
สร้างผ​ ลผลิตใ​ห้อ​ งค์การล​ ดล​ ง และเ​ป็นการช​ ่วยต​ ัดสินใ​จว​ ่าค​ วรจ​ ะป​ ฏิบัติอ​ ย่างไรก​ ับพ​ นักงานค​ นด​ ังก​ ล่าว นอกจากน​ ั้น
การ​เก็บ​สถิติ​เกี่ยว​กับ​การ​ลา​งาน​ของ​พนักงาน​ไว้​จะ​ช่วย​ให้​ฝ่าย​ทรัพยากร​มนุษย์​คาด​การณ์​ได้​ว่า​ใน​ช่วง​เวลา​ใด​ของ​ปี​
ที่​พนักงาน​ขาด​งาน​มาก และ​เตรียม​ป้องกัน​ได้​ทัน​เวลา​ล่วง​หน้า เพื่อ​เป็นการ​แก้​ปัญหา​การ​ขาด​งาน​นี้ บาง​องค์การ​มี​
มาตรการท​ ี่​จะ​จูงใจใ​ห้พ​ นักงานข​ าด​งาน​น้อยล​ ง โดยก​ ารใ​ห้​รางวัลแ​ ก่พ​ นักงาน​ที่​ขาดง​ านน​ ้อย​ที่สุด

       2. 	 การ​ประเมิน​มูลค่า​ของ​มนุษย์​เสมือน​เป็น​สินทรัพย์​อย่าง​หนึ่ง (Human Asset Valuation) เครื่อง​มือ​ที่​
จะ​ช่วยใ​น​การป​ ระเมิน​มูลค่า​ของ​พนักงานแ​ ต่ละค​ น​ที่ม​ ี​ต่อ​องค์การ​นิยม​ใช้​กันอ​ ย่างก​ ว้าง​ขวาง คือ การ​บัญชี​ทรัพยากร-​
มนุษย์ (Human Resource Accounting) หลัก​การ​ของ​วิธี​การ​นี้​จะ​มอง​ว่า​บุคลากร​ใน​องค์การ​เป็น​สินทรัพย์​อย่าง​
หนึ่งท​ ี่​องค์การไ​ด้​ลงทุนไ​ป จึงต​ ้อง​ใช้ป​ ระโยชน์ใ​ห้ค​ ุ้ม​ค่า ดัง​นั้น​ข้อมูล​ที่ใ​ช้​ใน​การ​ประเมิน​มูลค่าค​ ือ งบป​ ระมาณท​ ี่​ใช้​ใน
​การล​ งทุน​ใน​ตัวพ​ นักงาน เช่น ค่าจ​ ้างเ​งิน​เดือน ค่าฝ​ ึก​อบรมเ​พื่อ​พัฒนา​คุณภาพ และ​เป็นการเ​พิ่มม​ ูลค่า​ใน​ตัวบ​ ุคลากร
ในเ​ชงิ ธ​ รุ กิจเ​มื่อล​ งทุนไ​ปแ​ ล้วย​ ่อมห​ วังผ​ ลต​ อบแทนท​ ี่มาก​ กว​ ่าม​ ูลคา่ ท​ ไี่​ดล​้ งทุนไ​ป การล​ งทุนใ​นท​ รพั ยากรม​ นษุ ยก​์ เ​็ ชน่ ก​ นั
องค์การ​ย่อม​ต้องการ​ให้​บุคลากร​สร้าง​ประโยชน์​ให้​แก่​องค์การ​หลัง​จาก​ที่​ได้​ลงทุน​ใน​รูป​ของ​เงิน​ใน​ตัว​บุคลากร​ไป​แล้ว
องค์การ​สามารถม​ อง​ภาพ​ลักษณะเ​ดียวกันก​ ับ​รูปข​ อง​งบดุลก​ ็ได้ โดยม​ ีร​ าย​ชื่อพ​ นักงานเ​ป็น​สินทรัพย์ เมื่อพ​ นักงาน​คน​
หนึ่งค​ น​ใดล​ า​ออก การ​ลงทุนจ​ ะ​ถูกห​ ัก​ออกจ​ าก​ยอด​รวมก​ ็​จะ​ได้​ยอด​การข​ าดทุนข​ อง​สินทรัพย์​ทรัพยากรม​ นุษย์​ที่​มีอ​ ยู่

       3. 	 การ​ฝึก​อบรม​และ​พัฒนา (Training and Development) ใน​งานบ​ างอ​ ย่าง​จำเป็นต​ ้อง​อาศัยก​ ารฝ​ ึก​อบรม​
และ​พัฒนา​ฝีมือ​หรือ​ความ​รู้​ของ​บุคลากร​เพิ่ม​เติม​เพื่อ​ให้​มี​ความ​รู้ ความ​ชำนาญ​ใน​เรื่อง​หนึ่งๆ อย่าง​ชัดเจน ซึ่ง​ทำให้​
การด​ ำเนนิ ง​ านใ​กลเ​้ คยี งก​ บั ม​ าตรฐานม​ ากท​ สี่ ดุ นอกจากน​ ัน้ การฝ​ กึ อ​ บรมแ​ ละพ​ ฒั นาย​ งั เ​ปน็ การเ​ตรยี มค​ วามพ​ รอ้ มส​ ำหรบั ​
การ​เปลี่ยนแปลง​ที่​กำลัง​จะ​เกิด​ขึ้น​และ​เพื่อ​ให้การ​ปฏิบัติ​งาน​มี​ประสิทธิภาพ​มาก​ขึ้น การ​ติดตาม​ควบคุม​ทรัพยากร​-
มนุษย์​โดย​วิธี​นี้​จึง​เปรียบ​เสมือน​เป็นการ​ปรับ​ฐาน​ความ​รู้ ความ​สามารถ​ของ​บุคลากร​แต่ละ​คน​ให้​ใกล้​เคียง​กัน และ​
เปน็ การพ​ ฒั นาไ​ปพ​ รอ้ มๆ กนั ซึ่งจ​ ะส​ ่งผ​ ลใ​หผ้​ ลง​ านท​ ีอ่​ อกม​ าม​ มี​ าตรฐานต​ ามท​ ีต่​ อ้ งการ ปจั จุบนั ก​ ารฝ​ กึ อ​ บรมแ​ ละพ​ ฒั นา​
เป็นท​ ี่น​ ิยมม​ ากข​ ึ้น อย่างไรก​ ็ตามอ​ งค์การอ​ าจไ​ม่ไ​ด้ร​ ับป​ ระโยชน์ต​ อบแทนจ​ ากก​ ารฝ​ ึกอ​ บรมแ​ ละพ​ ัฒนาก​ ็ได้ ถ้าบ​ ุคลากร​
ผู้น​ ั้น​ไม่ส​ ามารถส​ ื่อสารถ​ ่ายทอด​ความ​รู้​ให้​กับ​ผู้อ​ ื่น​ได้

       4. 	 การ​ประเมิน​ผล​การ​ดำเนิน​งาน (Performance Appraisals) การ​ประเมิน​ผล​การ​ดำเนิน​งาน​นี้​เป็น
การ​ติดตาม ตรวจส​ อบ​ว่า บุคลากรข​ องอ​ งค์การไ​ด้​ปฏิบัติห​ น้าที่อ​ ย่างม​ ี​ประสิทธิภาพ​เพียง​ใด ควร​จะ​ให้​รางวัล​หรือค​ วร​
ลงโทษโ​ดยเ​ปรียบเ​ทียบก​ ับม​ าตรฐานท​ ี่​คาดไ​ว้ การป​ ระเมินน​ ี้จ​ ะช​ ่วยว​ ัดป​ ระสิทธิภาพข​ องก​ ิจกรรมต​ ่างๆ ของท​ รัพยากร​
มนุษย์​ทั้งหมด และเ​ป็น​ลักษณะ​การ​ติดตาม​ควบคุม​ที่​ถือ​เป็นการ​ให้​ข้อมูล​แบบ​ย้อน​กลับ (Feedback) และเ​ป็นการ​
ติดตามค​ วบคุมแ​ บบ​ในข​ ณะป​ ฏิบัติง​ าน (Concurrent Control) ด้วย ส่วน​มาตรฐานใ​นก​ ารป​ ระเมินถ​ ือเ​ป็นเ​ครื่อง​มือ​
การต​ ดิ ตามค​ วบคุมแ​ บบล​ ว่ งห​ นา้ (Feedforward Control) เพือ่ ใ​หก้ ารด​ ำเนนิ ง​ านเ​ปน็ ไ​ปต​ ามเ​ป้าห​ มายด​ งั ก​ ล่าว ตวั อย่าง
ใน​การ​รับ​นัก​ร้อง​เข้า​มา​ประจำ​ที่​ห้อง​อาหาร จำเป็น​ต้อง​ทดสอบ​ความ​สามารถ​ด้าน​การ​ร้อง​เพลง น้ำเ​สียง ลีลา​การ​ร้อง
กอ่ นต​ ดั สนิ ใ​จร​ บั เ​ขา้ ท​ ำงาน ทัง้ นผี้​ คู​้ ดั เ​ลอื กจ​ ะต​ อ้ งม​ ม​ี าตรฐานห​ รอื ร​ ะดบั ก​ ารย​ อมรบั ไ​ดไ​้ วใ​้ นใ​จก​ อ่ นแ​ ลว้ เมือ่ ร​ บั เ​ขา้ ท​ ำงาน​
แลว้ จ​ ะช​ ว่ ยใ​หย​้ อดข​ ายเ​พิม่ ข​ ึน้ ต​ ามท​ คี​่ าดไ​วห​้ รอื ไ​ม่ จงึ จ​ ำเปน็ ต​ อ้ งม​ ก​ี ารป​ ระเมนิ ผ​ ลก​ ารด​ ำเนนิ ง​ านโ​ดยด​ จ​ู ากจ​ ำนวนล​ กู คา้ ​
ที่เ​ข้า​มา​ใช้​บริการ​หรือ​ดูจ​ าก​ยอดร​ าย​ได้​ของร​ ้าน ถ้า​ไม่​เป็นไ​ปต​ ามท​ ี่ก​ ำหนด​ไว้​ก็​จำเป็นต​ ้อง​เลิก​จ้างน​ ัก​ร้อง​ผู้น​ ี้

       5. 	 การ​สำรวจ​ทัศนคติ (Attitude Surveys) วิธี​นี้​จะ​ช่วย​ให้​ทราบ​ว่า​พนักงาน​รู้สึก​อย่างไร​กับ​นายจ้าง​และ​
องค์การ สิ่งท​ ี่พ​ นักงานไ​ม่พ​ อใจ รวมถ​ ึงค​ ำแ​ นะนำใ​นก​ ารแ​ ก้ไขป​ รับปรุง การท​ ี่พ​ นักงานม​ ีท​ ัศนคตทิ​ ี่ด​ ีต​ ่ออ​ งค์การแ​ ละก​ าร​

                             ลิขสิทธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   293   294   295   296   297   298   299   300   301   302   303