Page 303 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 303
การต ิดตามควบคุม 6-75
วิธแี กไ้ ขอปุ สรรคอนั เกดิ จากพ ฤตกิ รรมของค น
อย่างไรก ็ด ี มีน ักวิชาการหลายท่านเช่นก ันที่เห็นว่า ระบบก ารติดตามค วบคุมที่จะควบคุมพ ฤติกรรมของคน
อย่างม ีป ระสิทธิภาพจะต ้องพยายามป้องกันสาเหตุที่จะท ำให้คนม ีโอกาสกระทำในสิ่งต่อไปน ี้
1. ต่อต้านหรือไม่ส ามารถปฏิบัติได้ต ามความต ้องการข องระบบการต ิดตามค วบคุม
2. ประกาศการเป็นปรปักษ์อย่างแจ้งชัดต่อระบบการติดตามควบคุมและต่อผู้บริหารที่รับผิดชอบใน
การจัดทำร ะบบการติดตามควบคุม
3. รายงานข ้อมูลอ ย่างผ ิดๆ หรือให้ข ้อมูลค ลุมเครือ โดยม ีว ัตถุประสงค์เพื่อก ารป ิดบังส ถานการณ์ท ี่เป็นจ ริง
หรือให้ข้อมูลเฉพาะที่เป็นที่ต้องการที่ขอมาเท่านั้น โดยไม่ให้การสนับสนุนนกับระบบการติดตามควบคุมอย่าง
แท้จริง
4. ละเลยที่จะสร้างความเข้าใจและความเชื่อถือระหว่างกันและกันกับผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน และ
ผ ู้ใต้บังคับบ ัญชา
สำหรับแ นวทางที่จ ะป้องกันไม่ให้พฤติกรรมของค นเป็นไปในท างล บน ั้น นักวิชาการห ลายท่านได้เสนอให้ใช้
วิธีการให้ค นเข้ามามีส่วนร่วม (Participative Approach) ในก ารออกแบบระบบค วบคุม ด้วยวิธีนี้เป็นท ี่คาดหวังว ่า
ผลท ี่ออกมาจ ะมีล ักษณะท ี่ด ี ดังต ่อไปน ี้ค ือ
1. ทำให้การวางแผนสามารถทำได้ใกล้เคียงความจริงมากขึ้น เพราะจะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทันต่อ
การตัดสินใจ
2. ขวัญและกำลังใจในการทำงานของคนจะสูงขึ้น เพราะตนเองได้เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบระบบ
ควบคุมท ี่จ ะใช้ว ัดและป ระเมินผลง านของต น
3. การปฏิบัติงานและการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ จะสามารถทำได้ง่ายขึ้น เพราะคนได้เข้ามา
มีส่วนร ่วมด้วยความเต็มใจ
กจิ กรรม 6.4.1
ใหน้ กั ศกึ ษาใหค้ วามเหน็ เกยี่ วก บั ร ะบบก ารค วบคมุ ท ใ่ี ชก้ ารพ ยากรณข์ อ้ มลู ก อ่ นเกดิ เหตกุ ารณจ์ รงิ ในท าง
ทีเ่ ปน็ บวก (ดี) หรอื ล บ (ไมด่ )ี พร้อมท ้งั ให้เหตุผลประกอบด ้วยว่า ทำไมท ่านจงึ มีค วามเหน็ เช่นนัน้
แนวต อบกิจกรรม 6.4.1
โปรดพ ิจารณาหวั เรอ่ื ง 6.4.1 ประกอบ
ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช