Page 302 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 302
6-74 องค์การแ ละก ารจ ัดการและก ารจ ัดการท รัพยากรม นุษย์
1. การให้ข้อมูลย ้อนกลับท ี่ผ ิดห รือไม่สอดคล้องกับความต ้องการข องระบบก ารต ิดตามค วบคุม อันเป็นผล
ให้อ งค์การต ้องแ ก้ไขก ารปฏิบัติก ารโดยไม่จำเป็น
2. การสร้างตัวเลขลวง เช่น การให้ตัวเลขข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตที่ต่ำกว่าความเป็นจริงเพื่อให้มาตรฐาน
ได้ร ับก ารกำหนดไว้ในร ะดับต ่ำ
3. การลดค ุณภาพให้ต่ำล งและต่อต้านก ารกร ะท ำตามม าตรฐานท ี่กำหนด
4. การขาดขวัญแ ละกำลังใจในการทำงาน
5. การปัดค วามรับผิดช อบให้พ ้นตัว โดยกล่าวโทษผ ู้อื่นเมื่อผลง านออกมาไม่ดี
6. การให้ค วามสำคัญก ับสิ่งที่แ ต่ละค นจะถูกวัด แทนที่จะเน้นผ ลงานข องทุกค นในส่วนร วม
7. การพยายามทำให้เกิดก รณีพิพาทข ้อขัดแ ย้งข ึ้นระหว่างฝ่ายบริหารก ับฝ่ายผ ู้ใช้แรงงาน
8. การพยายามทำให้เกิดกรณีพิพาทข้อขัดแย้งข ึ้นระหว่างห น่วยงาน
ปฏิกริ ิยาข องคนท ี่ม ีตอ่ ก ารต ิดตามค วบคมุ ป ระเภทตา่ งๆ
สำหรับปฏิกิริยาข องค นโดยท ั่วไปที่มีต ่อระบบการต ิดตามค วบคุมแต่ละป ระเภทน ั้น มีดังนี้คือ
1. ปฏิกิริยาในท างท ี่ด ีต ่อร ะบบก ารต ิดตามค วบคุมท ี่ใช้ก ารพ ยากรณ์ข ้อมูลก ่อนเกิดเหตุการณ์จ ริง กล่าวค ือ
คนส่วนม ากมักค ิดว ่าการติดตามควบคุมในล ักษณะนี้เมื่อมีก ารยอมรับในวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของก ารติดตาม
ควบคุม ข้อมูลย้อนก ลับที่ส ่งก ลับม ายังตัวบ ุคคลไม่ว ่าจ ะเป็นข ้อมูลที่แ สดงผลในท างด ีห รือไม่ด ี ก็จ ะได้ร ับก ารยอมรับ
เสมอ ทั้งนี้เพราะข ้อมูลเหล่าน ี้จ ะถ ูกน ำม าใช้เป็นข ้อมูลในก ารต ัดสินใจเพื่อก ารแ ก้ไขให้ถ ูกต ้องม ากกว่าท ี่จ ะถ ูกน ำม าใช้
เป็นเครื่องประเมินว่าบุคคลนั้นๆ ทำงานดีหรือไม่ เมื่อระบบการติดตามควบคุมประเภทนี้สามารถให้ข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ต่อการต ัดสินใจของคนไว้ล่วงห น้าก็ทำให้ค นเข้าม ามีส ่วนร่วมในกระบวนการต ิดตามค วบคุมมากข ึ้น
2. ปฏิกิริยาที่เป็นกลางหรือปฏิกิริยาในทางที่ไม่ดีต่อระบบการติดตามควบคุมที่ต้องผ่านการตรวจสอบ
ก่อน การต ิดตามค วบคุมลักษณะที่ต้องให้มีก ารขออนุญาตก่อนท ุกครั้งเป็นการติดตามควบคุมท ี่มีไว้เพื่อให้แน่ใจได้
ว่างานจ ะได้มาตรฐานด ้านคุณภาพตามท ี่กำหนด ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีสำหรับห น่วยง าน อย่างไรก็ดี สำหรับคนในห น่วยงาน
โดยเฉพาะร ะดับต ่ำแ ล้ว มักจ ะมองก ารต ิดตามควบคุมล ักษณะนี้ว ่าเป็นอุปสรรคในการท ำงานข องพวกเขา เมื่อระบบ
การต ิดตามค วบคุมร ายงานข ้อมูลว ่าง านอ ยูใ่นร ะดับส ูงก ว่าม าตรฐาน คนเหล่าน ีจ้ ะไมไ่ดร้ ับก ารช มเชยห รือย กย่อง แตก่ ็
จะม คี วามห มายเพียงว ่าง านช ิ้นน ั้นเป็นท ีย่ อมรับใหผ้ ่านได้ แตใ่ นท างต รงก ันข ้ามเมื่อข ้อมูลแ สดงว ่าง านต ่ำก ว่าม าตรฐาน
งานชิ้นนั้นจะถูกตัดออกหรือไม่เป็นที่ยอมรับ ซึ่งเป็นผลต่อเนื่องให้เกิดการล่าช้าและความไม่พอใจ เพราะทำให้คน
ไม่สามารถทำงานให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายอื่นๆ ที่พวกเขาตั้งไว้ และคนจะมีปฏิกิริยาในทางลบอย่างมากเมื่อ
พบว ่ามาตรฐานท ี่ก ำหนดไว้น ั้นย ังไม่ส มเหตุสมผลแ ละไม่ชัดแจ้งห รือไม่สามารถว ัดได้
3. ปฏิกิริยาท ี่ม องร ะบบก ารต ิดตามค วบคุมท ี่ใช้ข ้อมูลย ้อนก ลับห ลังจ ากง านส ิ้นส ุดแ ล้ว ในล ักษณะท ี่เปรียบ
การติดตามควบคุมเหมือนเป็นบัตรบันทึกหลักฐาน ดังที่กล่าวแล้วว่าการติดตามควบคุมลักษณะที่เป็นการติดตาม
ควบคุมหลังจากงานสิ้นสุดแล้ว มักถูกนำมาเก็บให้เป็นข้อมูล เพื่อการวางแผนต่อไปในอนาคตและเพื่อพิจารณาให้
รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติงานดีเด่น จึงเป็นระบบบที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่ชอบที่จะแก้ไขผลลัพธ์หลังจากที่เกิดขึ้นจริงๆ แล้ว
มากกว่าที่จะทำการแก้ไขในขณะที่ผลลัพธ์ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงๆ ดังนั้น การติดตามควบคุมลักษณะนี้จึงเสมือนเป็น
บัตรซึ่งเป็นที่เก็บรวบรวมหลักฐานต่างๆ ที่แสดงว่าผลงานเป็นอย่างไร และจะต้องวางแผนอย่างไรในอนาคต และ
แสดงผ ลง านต่างๆ ที่ผ ่านมาเป็นอย่างไร เพื่อเป็นผลงานส ำหรับก ารรับรางวัล
ลิขสทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช