Page 301 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 301
การติดตามควบคุม 6-73
เรอ่ื งท ่ี 6.4.1
ระบบก ารต ดิ ตามค วบคมุ ก ับพ ฤติกรรมของค น
พฤติกรรมของค นในองค์การน ั้น จะมีผ ลกร ะทบต ่อวัตถุประสงค์ข ององค์การในลักษณะเดียวก ับโครงสร้าง
ของง าน ซึ่งห ากจ ัดไว้ไม่ด ีก ็จ ะม ีผ ลกร ะท บต ่อค วามส ำเร็จข องว ัตถุประสงค์ กล่าวค ือ หากค นป ฏิเสธท ี่จ ะป ระพฤติห รือ
ปฏบิ ตั ติ ามก ฎเกณฑห์ รอื ม าตรฐานท อี่ งคก์ ารว างไว้ กอ็ าจจ ะท ำใหอ้ งคก์ ารไมส่ ามารถบ รรลผุ ลส ำเรจ็ ต ามว ตั ถปุ ระสงคท์ ี่
ตั้งไว้ได้ ดังน ั้น จึงม ีค วามจ ำเป็นท ี่จ ะต ้องค วบคุมพ ฤติกรรมข องค นด ้วย ในองค์ก ารห นึ่งๆ นั้น เราสามารถท ี่จ ะบ อกได้
ว่าม ีก ารต ิดตามค วบคุมอ ยู่ม ากห รือน ้อยโดยด ูได้จ ากค วามม ีอ ิสระข องค นในก ารป ฏิบัติง าน อย่างไรก ็ด ี การม ีอ ิสรภาพ
ในก ารป ฏิบัตงิ านข องค นอ ย่างเต็มท ีใ่นบ างอ งค์การน ั้นไมไ่ดห้ มายความว ่าอ งค์การน ั้นจ ะข าดร ะบบก ารต ิดตามค วบคุม
ทั้งนีเ้พราะร ะบบก ารต ิดตามค วบคุมบ างร ะบบก ใ็หอ้ ิสระก ับพ ฤติกรรมข องค นอ ย่างเต็มท ี่ การต ิดตามค วบคุมน ั้นใชแ่ ต่
จะมีไว้เพื่อจำกัดพฤติกรรมของคนเพียงคนเดียวเท่านั้น แต่มีไว้เพื่อจำกัดพฤติกรรมของบุคคลอื่นๆ ด้วย ซึ่งทำให้
บุคคลหนึ่งบุคคลใดพอที่จะสามารถคาดคะเนได้ว่าพฤติกรรมของผู้อื่นที่มีต่อตนจะเป็นเช่นใด ดังนั้น การมีระบบ
การติดตามควบคุมที่เป็นทางการจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมี เพื่อควบคุมพฤติกรรมในทุกสถานการณ์ อย่างไรก็ดี
การทำการติดตามควบคุมที่มีมากจนเกินไปอาจให้ผลลัพธ์ในทางลบได้ เช่นเดียวกับการให้อิสระกับพฤติกรรมของ
บุคคลอย่างเต็มที่ วิธีที่จะก่อให้เกิดประสิทธิผลกับองค์การมากที่สุด คือ การผสมผสานระหว่างการติดตามควบคุม
และการให้อิสระกับพฤติกรรมของบุคคล ซึ่งวิธีที่จะนำมาใช้ในการติดตามควบคุมจะแตกต่างกันไปตามสถานการณ์
ในลักษณะเช่นเดียวกับที่รูปแบบของผู้นำหรือการมอบหมายอำนาจหน้าที่ย่อมขึ้นอยู่กับสถานการณ์ต่างๆ เช่น ใน
องค์การท ี่ป ระกอบไปด ้วยน ักวิชาการ รูปแ บบข องผ ู้นำจะเป็นแ บบป ระชาธิปไตย และการมอบหมายอำนาจห น้าที่เป็น
แบบการกระจายอำนาจ (decentralization) และในองค์การที่ประกอบไปด้วยพนักงานที่ใช้แรงงานเป็นส่วนมาก
รูปแบบผู้นำแบบเผด็จการรวมอำนาจไว้ที่ผู้นำจะดูเหมาะสมกว่า สำหรับเรื่องของการติดตามควบคุมก็เช่นเดียวกัน
ได้มีการว ิจัยและค้นพ บว่า การต ิดตามควบคุมอย่างพอประมาณ (loose control) จะให้ป ระสิทธิภาพและค วามพ อใจ
ต่อบุคคลในหมู่นักวิชาการอาชีพมากกว่า แต่สำหรับในหมู่ผู้ที่ไม่ได้เป็นนักวิชาการแล้ว การติดตามควบคุมอย่าง
เคร่งครัด (tight control) จะให้ป ระสิทธิภาพมากกว่า แต่ค วามพอใจของบุคคลและขวัญกำลังใจข องกลุ่มก็จ ะล ดล ง
ด้วย ในองค์การหนึ่งองค์การใดนั้น อาจกล่าวได้ว่า ปัญหาของการติดตามควบคุมจะมีความสลับซับซ้อนมากหรือ
น้อยขึ้นอยู่กับจำนวนคนในองค์การ ทั้งนี้เพราะบุคคลแต่ละคนมีลักษณะเฉพาะที่เป็นของตนเอง ซึ่งจะทำงานเพื่อ
สนองความต ้องการของตนเองและข องอ งค์การไปพ ร้อมๆ กัน แต่ละค นมีวิธีก ารท ำงาน วิธีก ารแ ก้ป ัญหา มีความรู้สึก
ความเชือ่ และร ูจ้ กั ใชเ้ หตผุ ลท แี่ ตกต า่ งไปจ ากค นอ ืน่ ๆ การพ ยากรณพ์ ฤตกิ รรมข องค นในอ งคก์ ารจ งึ ไมส่ ามารถท จี่ ะท ำให้
ถกู ต อ้ งต รงก บั ค วามเปน็ จ รงิ ได้ ยิง่ ก วา่ น ัน้ ข อ้ ข ดั แ ยง้ เกีย่ วก บั ก ารค วบคมุ ในอ งคก์ ารย งั เปน็ ป ญั หาร ะหวา่ งห นว่ ยง านห ลกั
และหน่วยง านที่ปรึกษาเกี่ยวกับอำนาจห น้าที่ในการติดตามควบคุมตามกระบวนการข องการติดตามควบคุม เช่น มี
ปัญหาว่าถ ้าหน่วยง านท ี่ปรึกษาเป็นผู้ก ำหนดมาตรฐาน หน้าท ี่อื่นๆ ในกระบวนการติดตามค วบคุมค วรเป็นหน้าที่ข อง
หน่วยง านท ี่ปรึกษาหรือหน่วยง านหลัก เป็นต้น
พฤติกรรมที่แตกต่างกันของคนและความขัดแย้งต่างๆ ซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมนี้ ทำให้สรุปได้ว่า ใน
การอ อกแบบร ะบบค วบคุมห รือร ะบบป ฏิบัติก ารใดๆ ก็ตาม จำเป็นท ีจ่ ะต ้องค ำนึงถ ึงอ งคป์ ระกอบท ีเ่กี่ยวก ับพ ฤติกรรม
ของค นด ้วยเสมอ ทั้งนีเ้พราะพ ฤติกรรมข องค นจ ะม ีผ ลกร ะท บต ่อข ้อมูลย ้อนก ลับในท างล บได้ ตัวอย่างข องพ ฤติกรรม
ในท างลบท ี่ปรากฏอ ยู่เสมอ เช่น
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช