Page 83 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 83
การวางแผน 3-19
ขัน้ ต อนน จี้ ะเปน็ ข ัน้ ต อนท จี่ ะต อบค ำถามว า่ “เราท ำไดด้ หี รอื ไมด่ ”ี ภายใตส้ ภาวะแ วดลอ้ มป จั จบุ นั แ ละถ า้ ส ภาวะแ วดลอ้ ม
เปลี่ยนไป จะต้องตอบค ำถามว่า “เราต้องการจ ะทำอะไรในอนาคต” ซึ่งก ารต อบคำถามด ังกล่าวจ ำเป็นท ี่จ ะต้องท ำการ
คาดคะเน (forecasting) เหตุการณ์ต ่างๆ ที่จะเกิดขึ้นไว้ล่วงหน้า ดังนั้นจะเห็นได้ว่าขั้นตอนที่สองข องกระบวนการ
วางแผน ก็คือการคาดคะเนนั่นเอง การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลและใช้ประโยชน์จาก
ข้อมูลนั้น เพื่อการพยากรณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นข้อมูลที่ถูกต้องจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อการคาดคะเนวิธีการ
ของก ารค้นหาแ ละต รวจสอบ (scanning) ข่าวสาร ข้อมูลเพื่อใช้ทำการค าดค ะเนน ั้น อาจท ำได้หลายรูปแ บบด้วยกัน
ดังเช่นร ูปแบบห นึ่งท ี่ Aguilar10 เสนอไว้ซึ่งม ี 4 วิธีคือ
1. การค้นหาข่าวสารข้อมูลโดยทางอ้อม (Undirected search) อันเป็นการไม่พยายามมุ่งค้นหาข้อมูล
เกี่ยวก ับส ภาวะแ วดล้อมเป็นการเฉพาะ แต่พ ยายามท ี่จ ะร ับข ้อมูลเกี่ยวก ับส ภาวะแ วดล้อมท ุกช นิดท ี่จ ะผ ่านเข้าม า เช่น
การที่น ักบ ริหารอ ่านห นังสือ รายงานต ่างๆ ของทางราชการ หรือการอ ่านหนังสือพิมพ์รายวันโดยไม่ได้ม ุ่งห าข้อมูลใด
เป็นพ ิเศษ ซึ่งบ ่อยครั้งก ็ส ามารถที่จ ะค้นพบโอกาสที่จะเป็นป ระโยชน์ต่ออ งค์การของต นได้
2. การค้นหาข่าวสารข้อมูลโดยทางต รง (Directed search) เป็นการพยายามที่จะมุ่งค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ
สภาวะแวดล้อมอย่างห นึ่งอย่างใดเป็นการเฉพาะ เช่น การที่นักบริหารจำกัดการอ่านหนังสือร ายงานแต่เฉพาะท ี่เกี่ยว
กับการเงินหรือการตลาด โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อค้นหาโอกาสที่จะเปิดให้ในด้านเหล่านี้เป็นการเฉพาะ เป็นต้น ซึ่งจะ
เห็นไดว้ ่าโอกาสท ี่จ ะไดร้ ับข ้อมูลในด ้านน ี้เป็นการเฉพาะม ีม ากกว่าท ี่จ ะอ ่านร ายงานห รือห นังสือป ระเภทอ ื่นๆ แตโ่อกาส
ที่จ ะได้รับข้อมูลทางด้านอ ื่นก ็จะห มดไปด้วย
3. การค ้นหาข ่าวสารข ้อมูลอ ย่างไม่เป็นพิธีการ (Informal search) เป็นการค ้นหาข ้อมูลอย่างหนึ่งอ ย่างใด
เป็นการเฉพาะ โดยที่การค้นหานั้นมีลักษณะจำกัดและเป็นไปอย่างไม่มีขั้นตอนเป็นพิธีการ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมักจะ
เป็นข้อมูลท ี่ร ู้จักกันเป็นอย่างดีแล้วว ่าอยู่ท ี่แหล่งใด เช่น การค้นหาข ้อมูลโดยก ารส อบถามจากผู้ร ู้ หรือก ารสังเกตจาก
การป ฏิบัติง าน เป็นต้น
4. การค้นหาข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นพิธีการ (Formal search) เป็นการค้นหาข้อมูลที่ต้องมีการกำหนด
ขั้นต อนห รือแ ผนการห าข ้อมูลอ ย่างเป็นพ ิธีการ เพื่อค ้นหาแ หล่งท ี่มาข องข ้อมูล เช่น การค ้นหาจ ากห ้องส มุด การค ้นหา
ด้วยว ิธกี ารท ดลองแ ละก ารว ิจัยต ลาด เป็นต้น การค ้นหาข ้อมูลด ้วยว ิธนี ีม้ ักจ ะท ำก ต็ ่อเมื่อข ้อมูลท ีต่ ้องการเป็นส ิ่งจ ำเป็น
สำหรับก ารทำการค าดคะเนเหตุการณ์
ชนดิ ข องก ารค าดค ะเน สำหรบั เรือ่ งข องก ารค าดค ะเนโดยท ัว่ ๆ ไป องคก์ ารท ีท่ ำการค าดค ะเน ทัง้ ในภ าคเอกชน
และภ าคร ัฐบาล จะท ำการคาดคะเนในล ักษณะต ่างๆ กันดังนี้
1. การค าดค ะเนส ภาวะเศรษฐกิจ ซึ่งจ ะเกี่ยวข้องก ับก ารท ำการพ ยากรณ์ส ภาวะเศรษฐกิจโดยท ั่วๆ ไป
เช่น มลู ค่าร วมแ ห่งผ ลิตภณั ฑส์ นิ ค้า (GNP) รายไดป้ ระชาชาติ (NNP) ภาวะการว า่ งง าน ภาวะเงินเฟ้อ ภาวะก ารผ ลติ ใน
อุตสาหกรรม เป็นต้น ข้อมูลเกี่ยวก ับส ภาวะเศรษฐกิจโดยท ั่วไปด ังก ล่าวม ักจ ะเป็นข ้อมูลท ีต่ ้องการส ำหรับก ารว างแผน
กลยุทธ์ขององค์การทุกองค์การ ซึ่งอาจจะหาได้จากสถาบันของรัฐบาลและเอกชนที่ทำการรวบรวมและพยากรณ์
แนวโน้มสภาวะเศรษฐกิจในอนาคต และจัดพิมพ์เผยแพร่ให้แก่ธุรกิจและบุคคลทั่วไป ดังนั้นการพยากรณ์สภาวะ
เศรษฐกิจจ ึงอาจพ ึ่งข ้อมูลจ ากส ถาบันเหล่านี้ได้โดยไม่ต้องทำเอง
2. การคาดคะเนสภาวะสังคม การเมืองและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการพยากรณ์เกี่ยวกับแนวโน้มของ
ผลกร ะท บท ีจ่ ะเกิดจ ากก ารเปลี่ยนแปลงข องส ังคม กฎห รือร ะเบียบท ีร่ ัฐจ ะป ระกาศอ อกใชใ้หมแ่ ละป ัญหาเกี่ยวก ับส ิ่งท ี่
ทำใหส้ ภาวะแ วดลอ้ มเปน็ พ ษิ ทีจ่ ะม ตี ่อผ ลติ ภณั ฑแ์ ละบ รกิ ารท ีอ่ งคก์ ารใหบ้ รกิ ารอ ยู่ การค าดค ะเนล ักษณะน ีย้ งั ไมค่ อ่ ย
ได้รับความสนใจจากผู้บริหารมากพอควรทั้งที่มีสถาบันที่ให้บริการเกี่ยวกับข้อมูลด้านนี้ทั้งในภาครัฐบาลและเอกชน
ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช