Page 88 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 88
3-24 องค์การแ ละการจัดการ และการจัดการท รัพยากรมนุษย์
เรอื่ งท่ี 3.1.5
วิธกี ารท่ีใช้ในการว างแผน
การวางแผนในอ งค์การอ าจทำได้ด้วยวิธีการต่างๆ แต่ว ิธีท ี่นิยมและก ล่าวถ ึงกันมากม ี 5 วิธี คือก ารว างแผน
แบบบ นล งล ่าง (top-down) และล ่างข ึ้นบ น (bottom-up) การว างแผนแ บบในอ อกน อก (inside-out) การวางแผนแบบ
นอกเข้าใน (outside-in) และก ารวางแผนสำหรับส ภาวการณ์ฉุกเฉิน (contingency) ในที่น ี้จ ะข อนำอธิบายแนวคิด
และหลักก ารของแ ต่ละวิธี พอเป็นส ังเขป
การว างแผนแ บบบ นล งล า่ ง (Top-down Planning)
การว างแผนในว ิธีการล ักษณะน ี้เน้นให้ค วามส ำคัญก ับผู้บริหารระดับส ูง ซึ่งจะกำหนดแ นวทางในก ารด ำเนิน
การข องอ งค์การในแ งว่ ิสยั ท ัศน์ ภารกจิ นโยบาย วัตถุประสงค์ ตลอดจ นถึงก ลยุทธใ์นก ารด ำเนินก ารด ้านต า่ งๆ ผูบ้ ริหาร
ระดับรองลงมาจ ะนำแนวทางที่ก ำหนดให้น ั้นม าใช้เป็นขอบเขตในการกำหนดแผนการดำเนินงานด ้านต่างๆ ซึ่งเป็นเชิง
ปฏิบัติก ารเพื่อให้ส ามารถบ รรลุว ัตถุประสงค์ท ี่ก ำหนดไว้ การว างแผนในว ิธีก ารน ี้เหมาะส ำหรับใช้ในอ งค์การข นาดเล็ก
ประเภทท ี่มีการดำเนินธุรกิจแ บบผลิตภัณฑ์เดียวในต ลาดเดียว (single product/market) เพราะเงื่อนไขข องสภาวะ
แวดล้อม และก ารแ ข่งขันม ีไม่มาก ผู้บ ริหารระดับส ูงเพียงค นเดียวห รือ 2-3 คน อาจม ีเวลาด ูแลปัจจัยเงื่อนไขสภาวะ
แวดล้อมได้ครบถ้วนและสามารถกำหนดแนวทางการดำเนินงานได้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนไปแต่สำหรับ
องค์การประเภทที่มีผลิตภัณฑ์หลากหลายชนิดหลากหลายประเภท และมีตลาดอยู่ในหลายภูมิภาคทั่วโลก (multi
product/market) หรือก ล่าวได้ว่าเป็นบริษัทลักษณะเดียวกับบริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ การใช้วิธีการวางแผนแบบ
บนล งล่าง ก็ดูจะไม่ก ่อให้เกิดประสิทธิภาพได้เพราะปัจจัยเกี่ยวก ับสภาวะแวดล้อมมีความยุ่งยากซับซ้อนมากกว่า
การว างแผนแบบล ่างข ึ้นบน (Bottom-up Planning)
การวางแผนในวิธีการเน้นความสำคัญไปที่การมีส่วนร่วมของพนักงานตั้งแต่ต้นเพื่อให้เกิดความรู้สึกมี
สว่ นร ว่ มแ ละผ กู พนั ต อ่ เปา้ ห มายแ ละแ ผนการด ำเนนิ ก ารต า่ งๆ ทพี่ วกต นม สี ว่ นในก ารก ำหนดข ึน้ และเพือ่ ใหก้ ารป ระสาน
งานแ ละก ารส ื่อสารร ะหว่างผ ูบ้ ริหารร ะดับส ูงแ ละร ะดับร องต ลอดจ นถึงพ นักงานม คี วามร วดเร็วแ ละเป็นท ีเ่ข้าใจก ันม าก
ขึ้นในว ิธกี ารว างแผนล ักษณะน ฝี้ า่ ยต า่ งๆ จะเป็นผ เู้ สนอแ ผนการต า่ งๆ และท างเลอื กข องเปา้ ห มายเพือ่ ใหผ้ บู้ รหิ ารร ะดบั
สูงได้พิจารณา ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นคือฝ่ายต่างๆ อาจนำเสนอแผนการดำเนินการต่างๆ ซึ่งนำองค์การไปคนละ
ทิศทาง และท ำให้ก ารใช้ท รัพยากรไม่เกิดป ระสิทธิภาพส ูงสุด ผู้บ ริหารร ะดับส ูงจ ึงต ้องส งวนอ ำนาจในก ารต ัดสินใจแ ละ
มขี ้อมูลเพียงพ อทีจ่ ะต ัดสินใจเลือกท างเลือกข องเป้าห มายห รือข องแ ผนการด ำเนินก ารแ บบไหนอ ย่างไรจ ึงจ ะก ่อใหเ้กิด
ประโยชน์สูงสุดในภาพรวมต่อองค์การ การวางแผนในวิธีการแบบนี้เหมาะที่จะใช้สำหรับองค์การขนาดใหญ่ประเภท
มีผ ลิตภัณฑ์หลายตัวอยู่ในตลาดหลายส่วนตลาดและพื้นที่ เพราะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการส่วนใหญ่จะได้
มาจากผู้บริหารระดับล่าง ซึ่งมีโอกาสในการรับรู้และสัมผัสข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการและลูกค้าโดยตรง ดังนั้น
ก ารว างแผนโดยว ิธีล ่างข ึ้นบ นน ี้ และผ นวกเข้าก ับก ารท ีฝ่ ่ายบ ริหารร ะดับส ูงใหข้ ้อมูลเกี่ยวก ับส มมติฐานในก ารว างแผน
ให้เป็นที่เข้าใจข องท ุกฝ่าย โดยเฉพาะท ี่เกี่ยวก ับแ นวทางแ ละทิศทางห ลักข องอ งค์การ เช่น เราม ีภ ารกิจอ ะไรก ำลังจ ะ
ดำเนินไปในทิศทางไหน และอนาคตเราต้องการจะเป็นอะไร จึงเป็นวิธีที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการวางแผนได้
เป็นอ ย่างม าก และใช้ได้ดีก ับองค์การข นาดใหญ่ที่มีการด ำเนินงานท ี่ซับซ ้อน และมีตลาดก ระจายอ ยู่ในหลายพื้นที่
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช