Page 86 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 86

3-22 องค์การ​และก​ ารจ​ ัดการ แ​ ละ​การ​จัดการท​ รัพยากรม​ นุษย์

ป้องกันไ​มใ่​หเ้​กิดข​ ึ้น ในท​ ำนองเ​ดียวกันถ​ ้าเ​หตุการณท์​ ีค่​ าดว​ ่าจ​ ะเ​กิดข​ ึ้นใ​นอ​ นาคตเ​ป็นผ​ ลด​ ี ผูบ้​ ริหารห​ รือผ​ ูว้​ างแผนก​ จ็​ ะ​
กำหนด​แนว​ปฏิบัติ​เพื่อ​สร้าง​ให้โ​อกาส​ที่​จะเ​กิด​เหตุการณ์น​ ั้น​มี​มากข​ ึ้น จาก​ที่​กล่าวม​ าแ​ ล้วพ​ อจ​ ะ​สรุป​ได้​ว่า​ขั้น​ตอน​นี้​จะ​
เป็นข​ ั้นต​ อนท​ ี่​เปลี่ยน​โอกาสใ​นก​ าร​ดำเนิน​การ​ต่างๆ ซึ่งไ​ด้​จากก​ ารค​ าด​คะเนใ​นข​ ั้น​ตอนท​ ี่ 2 ให้​เป็น​ประโยชน์​ใน​แนวทาง​
ที่​จะ​บรรลุ​วัตถุประสงค์​ของ​องค์การ หรือ​กล่าว​อีก​นัย​หนึ่ง​คือ​เป็น​ขั้น​ตอน​ที่​ตอบ​คำถาม​ว่า “เรา​จะ​ต้อง​ทำ​อย่างไร​เพื่อ​
บรรลุว​ ัตถุประสงค์ท​ ี่​ตั้ง​ไว้” โดย​กำหนดเ​ป็น​แนวทาง​ปฏิบัติ​ใน​รูป​ของ​แผน​งาน​ของ​ฝ่าย​ต่างๆ (departments) ซึ่งจ​ ะ​
ใช้​ดำเนินก​ าร​เพื่อบ​ รรลุ​วัตถุประสงค์​หรือเ​ป้า​หมาย​ของแ​ ผน

4. การก​ ำหนด​มาตรฐานข​ อง​การป​ ฏบิ ัตง​ิ าน (Target Setting)

       เป็น​ขั้น​ที่​จะ​ต้อง​นำ​เอา​แผนที่​กำหนด​ไว้​ใน​ขั้น​ที่ 3 ไป​ปฏิบัติ ใน​การนำ​แผน​ไป​ปฏิบัติ​มี​ความ​จำเป็น​ที่​จะ​ต้อง​
เปลี่ยนแปลง​แผน​ซึ่ง​กำหนด​ไว้​อย่า​งก​ว้างๆ ให้​เป็น​เป้า​หมาย​ที่​แคบ​ลง​หรือ​เป็น​มาตรฐาน​หรือ​แผนที่​แสดง​อยู่​ใน​รูป​
ของ​ราย​ละเอียด​สำหรับ​ใช้​ปฏิบัติ​งาน อาทิ​ที่​แสดง​จำนวน​หรือ​เวลา​เพื่อ​ให้​พนักงาน​ระดับ​ปฏิบัติ​การ​สามารถ​ปฏิบัติ​ได้​
ด้วย​มาตรฐาน​ที่​กำหนด​ใน​ขั้น​นี้​จะ​เป็น​เหมือน​แผน​ซึ่ง​กำหนด​ให้​แคบ​ลง​กว่า​เดิม​เพื่อ​ให้​ทุกๆ คน​สามารถน​ ำ​ไป​ปฏิบัติ​
ได้ง​ ่าย เช่น ถ้าว​ ัตถุประสงค์ร​ อง​กำหนดว​ ่าจ​ ะต​ ้องเ​พิ่มย​ อด​ขาย​ให้ไ​ด้ 20% ทุก​ปีเ​พื่อใ​ห้ม​ ีส​ ่วน​ครอง​ตลาดเ​พิ่ม 25% ใน
3 ปี ฝ่ายก​ ารต​ ลาดอ​ าจก​ ำหนดใ​ห้การเ​พิ่มย​ อดข​ ายข​ องพ​ ื้นที่ก​ รุงเทพ และป​ ริมณฑลเ​ป็น 20% ภาคเ​หนือเ​พิ่ม 10% ภาค​
ตะวัน​ออก​เฉียง​เหนือ 5% หรือ​อาจ​กำหนด​เป็น​มาตรฐาน​การ​ปฏิบัติ​งาน​ว่า​ใน​แต่ละ​เดือน แต่ละ​พื้นที่ จะ​ต้อง​ทำ​ยอด​
ขาย​ให้ไ​ด้เ​ป็นจ​ ำนวน​ที่​กำหนด เป็นต้น

5. การต​ ดิ ตาม​และ​ประเมนิ ​แผน (Follow up of Plan)

       ขั้นต​ อน​ขั้นน​ ี้​เป็น​ขั้น​ตอนท​ ี่จ​ ำเป็นข​ อง​กระบวนการ​การ​วางแผน เพราะ​หาก​ปราศจากก​ าร​ติดตามแ​ ละ​ประเมิน​
แผนแ​ ล้ว ก็จ​ ะไ​ม่ส​ ามารถท​ ราบไ​ด้ว​ ่าป​ ฏิบัติก​ ารต​ ่างๆ ได้เ​ป็นไ​ปต​ ามแ​ ผนห​ รือไ​ม่ ในก​ ารต​ ิดตามแ​ ละป​ ระเมินแ​ ผนจ​ ำเป็น​
ที่​จะ​ต้อง​จัด​ทำ​รายงาน​เกี่ยว​กับ​ผล​งาน​เพื่อ​ทำการ​ประเมิน​และ​แก้ไข​รายงาน​เกี่ยว​กับ​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน จำเป็น​ที่​จะ​
ต้อง​มี​ความ​ถูก​ต้อง​และ​ส่ง​ไป​ยัง​ผู้รับ​ผิด​ชอบ​อย่าง​รวดเร็ว เพื่อ​สามารถ​นำ​การ​แก้ไข​การ​ปฏิบัติ​งาน​หรือ​แก้ไข​แผน​ได้​
อย่าง​ทัน​เหตุการณ์ ดัง​นั้น​จะ​เห็น​ได้​ว่าการ​จัด​เก็บ​หรือ​รวบรวม​ข้อมูล​เพื่อ​ทำ​รายงาน​ให้​ผู้รับ​ผิด​ชอบ​เป็น​สิ่ง​สำคัญ​ใน​
ขัน้ ต​ อนข​ ัน้ น​ ี้ ซึง่ ก​ ารต​ ระหนักถ​ ึงค​ วามส​ ำคญั ใ​นเ​รื่องน​ ีใ้​นป​ จั จบุ ันใ​นอ​ งคก์ ารข​ นาดใ​หญซ่​ ึ่งม​ รี​ ะบบง​ านท​ ีส่​ ลับซ​ ับซ​ อ้ นก​ ไ็ ด​้
มีก​ ารนำเ​อาเ​ครื่องค​ อมพิวเตอร์​เข้าม​ า​ใช้แ​ ทน​ระบบบ​ ัญชี​ที่เ​คยใ​ช้​กัน​อยู่​เดิม การต​ ิดตาม​และ​ประเมิน​แผน​อาจท​ ี่จ​ ะ​ต้อง​
กระทำ​อย่างส​ ม่ำเสมอ ทั้งนี้เ​พราะ​เงื่อนไข​และส​ ภาวะข​ ้อ​จำกัดข​ องแ​ ผน​จะ​เปลี่ยนแปลงไ​ปอ​ ยู่เ​สมอ ทุกๆ ปี​ใน​กรณี​ที่​ม​ี
การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สภาวะ​แวดล้อม​ทั้ง​ภายใน​และ​ภายนอก​องค์การ​ไป​จาก​เดิม​ก็​อาจ​ที่​จะ​ต้อง​ทำการ​ปรับปรุง​หรือ​
แก้ไข​แผน​เสีย​ใหม่ หรือ​กลับ​ไป​เริ่ม​ต้น​กำหนด​วัตถุประสงค์​ใหม่​ใน​ขั้น​ตอน​ที่ 1 เป็นต้น จะ​เห็น​ได้​ว่า​กระบวนการ​
ของก​ าร​วางแผนเ​ป็นกร​ ะบ​ วน​การท​ ี่​ต้อง​ทำ​อย่างต​ ่อเ​นื่องก​ ันไ​ป เมื่อผ​ ่านข​ ั้น​ตอน​ต่างๆ หมดแ​ ล้วก​ ็​ต้อง​ย้อนก​ ลับม​ ายัง​
ขั้นต​ อนแ​ รก หมุนเวียน​เป็น​วัฏจักรก​ ัน​อยู่เ​รื่อยๆ ตามส​ ภาวะท​ ี่​เปลี่ยนแปลงอ​ ยู่​ตลอด​เวลา

                             ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91