Page 89 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 89
การวางแผน 3-25
การว างแผนแบบในออกนอก (Inside-out Planning)
การวางแผนแบบในออกนอกเป็นวิธีการวางแผนที่เน้นการใช้ข้อมูลภายในองค์การที่มีอยู่เป็นฐานในการ
พิจารณาอนาคต โดยต ั้งส มมติฐานอยู่บนค วามสามารถขององค์การว่ามีความสามารถอ ะไร และจะแสวงหาป ระโยชน์
จากค วามส ามารถท ี่ม ีอ ยู่อ ย่างไรได้บ ้าง ในว ิธีก ารว างแผนแ บบน ี้จ ะให้ค วามส ำคัญท ี่ก ารใช้ป ระโยชน์จ ากท รัพยากรท ี่ม ี
อยใู่ หเ้ กดิ ป ระโยชนส์ งู สดุ แ ละม ุง่ พ ฒั นาท กั ษะแ ละค วามร คู้ วามส ามารถแ ละเทคโนโลยเี พือ่ ใหส้ ามารถก ำกบั ใชท้ รพั ยากร
ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ การให้ความสำคัญกับสภาวะแวดล้อมภายนอกได้รับการให้ความสำคัญน้อยกว่าจนอาจ
ทำให้ไม่ตระหนักถึงและไม่สนใจว่าลูกค้าคิดอะไรอยู่ เข้าทำนองถ้าเก่งซะอย่างก็ไม่ต้องกลัวลูกค้าจะเบือนหน้าหนี
วธิ คี ดิ แ ละว างแผนแ บบน ี้ มโี อกาสล ม้ เหลวค อ่ นข า้ งส งู เนือ่ งเพราะส ภาวะแ วดลอ้ มข องย คุ โลกาภ วิ ตั น ม์ กี ารเปลีย่ นแปลง
คอ่ นข า้ งร วดเรว็ แ ละล กู คา้ ม ที างเลอื กม ากในก ารจ ดั หาผ ลติ ภณั ฑห์ รอื บ รกิ ารม าต อบส นองค วามต อ้ งการท ัง้ แ นวโนม้ ข อง
ความจ งรักภ ักดีข องล ูกค้าม ีแ นวโน้มล ดล งอ ย่างม าก องค์การโดยเฉพาะอ งค์การข นาดใหญ่ท ี่ม ีก ารล งทุนส ูงม ากจ ึงไม่
อาจคลาดสายตาจากก ระแสความต้องการของล ูกค้าท ี่เปลี่ยนไปตลอดเวลาได้ และมักจ ะไม่ใช้วิธีการว างแผนแบบใน
ออกน อกเพียงอ ย่างเดียว แต่จ ะใช้ว ิธีนี้เมื่อต้องการจะท ำในสิ่งท ี่เคยท ำแ ละประสบผ ลสำเร็จให้ดีขึ้น
การว างแผนแบบน อกเขา้ ใน (Outside-in Planning)
การว างแผนแ บบน อกเข้าใน เป็นว ิธีก ารว างแผนท ี่ให้ค วามส นใจก ับป ัจจัยส ภาวะแ วดล้อมภ ายนอกอ ย่างม าก
โดยต ั้งส มมติฐานว ่าป ัจจัยส ภาวะแวดล้อมภ ายนอกเป็นตัวแปรสำคัญในค วามส ำเร็จและล้มเหลวของอ งค์การ จึงต้อง
มีก ารต รวจส อบติดตามแ ละประเมินอย่างใกล้ช ิดว ่าม ีแนวโน้มเปลี่ยนไปอย่างไร ก่อให้เกิดโอกาสห รือเป็นการคุกคาม
ต่อองค์การ และกำหนดเป้าหมายและแผนการด ำเนินก ารต ่างๆ เพื่อแสวงหาป ระโยชน์จากปัจจัยท ี่เป็นโอกาสและลด
หรือเลี่ยงหรือห าทางแก้ป ัญหาก ับปัจจัยที่เป็นการคุกคามต ่อองค์การ การว างแผนแ บบน อกเข้าในน ี้จะให้ความส ำคัญ
กับระบบข ้อมูลท ี่จ ะสามารถว ิเคราะห์และประเมินสภาวะแ วดล้อมได้อย่างถ ูกต้องและร วดเร็ว เพื่อที่จ ะให้ฝ่ายบริหาร
ระดับสูงกำหนดแ นวทางแ ละกลยุทธ์ข องอ งค์การให้เข้าก ับส ภาวะแ วดล้อมได้อย่างสอดคล้อง
การว างแผนส ำหรบั ส ภาวการณ์ฉุกเฉนิ (Contingency Planning)
การว างแผนน ั้นม คี วามจ ำเป็นต ้องม สี มมติฐาน ซึ่งเกิดจ ากก ารค าดท ำนายเหตุการณต์ ่างๆ ในอ นาคต การค าด
ทำนายเหตกุ ารณใ์นอ นาคตน ัน้ แมใ้นป ัจจบุ นั จ ะม เี ทคนิคแ ละเครื่องม อื ท ชี่ ่วยใหก้ ารพ ยากรณม์ คี วามแ ม่นยำม ากข ึน้ แ ต่
ความแน่นอนก็ยังคือความไม่แน่นอนอยู่เช่นเดิม บางครั้งจึงมีความจำเป็นจะต้องคิดแผนเผื่อไว้ในภาวการณ์คับขัน
หรือฉ ุกเฉิน นั่นคืออ าจต ้องก ำหนดส มมติฐานประเภท ถ้าเผื่อส ถานการณ์ไมเ่ป็นจ ริง (what if) และเตรียมแ ผนส ำหรับ
สภาวการณ์ท ี่อ าจจ ะเกิดข ึ้นแ ละม ีผ ลกร ะท บในท างล บอ ย่างร ุนแรงต ่ออ งค์การเตรียมเผื่อไว้ การท ำแ ผนล ักษณะน ี้จ ะม ี
การมองส ภาวการณ์ท ี่สุดข อบในท างล บ (worst-case) ไว้ และกำหนดจ ุดพลิกผ ันว่าเมื่อใดควรต้องเปลี่ยนไปใช้แ ผน
ฉุกเฉิน เช่น องค์การอ าจกำหนดจุดพ ลิกผันไว้ว่า ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนข องเงินบาทเป็น 50 บาทต ่อ 1 ดอลลาร์ส หรัฐ ก็
จะห ันไปใช้แ ผนห ยุดการผลิตในสายก ารผลิตบางสาย และห ันมาใช้แผนการในการปรับล ดต ้นทุนข องสายการผลิตที่
ยังต้องด ำเนินอ ยู่ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ร อดพ้นผ ่านวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงย ากลำบากน ี้ไปก ่อน เป็นต้น
ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช