Page 85 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 85

การ​วางแผน 3-21

ยอด​ขาย   บาท
         3,500
         3,000         2	 3	 4	 5	                                      เดือน
         2,500                      เวลา
         2,000
         1,500      ภาพท​ ่ี 3.7 การพ​ ยากรณโ​์ ดยว​ ธิ อ​ี นุกรมเ​วลา
         1,000

          500
            0
              	 1	

            5. 	 วิธี​เดลฟาย (Delphi method) ซึ่ง​เป็น​วิธี​การ​คาด​คะเน​หรือ​พยากรณ์​โดย​ใช้​สอบถาม​จาก​กลุ่ม
ผ​ ูเ​้ ชี่ยวชาญก​ ารส​ อบถามน​ ีอ้​ าจใ​ชว​้ ธิ ข​ี องก​ ารส​ ่งแ​ บบสอบถามใ​หผ้​ ูเ​้ ชี่ยวชาญแ​ ต่ละค​ น หรือว​ ิธใ​ี ดก​ ็ไดท้​ ีไ​่ ม่ใชก​่ ารส​ อบถาม​
ตัว​ต่อ​ตัว และ​ข้อมูล​ที่​ได้​จาก​การ​สอบถาม​แต่ละ​คน​จะ​ถูก​นำ​มา​ใช้​ทำ​ข้อสอบ​ถาม​ให้​ผู้​เชี่ยว​ชาญ​อื่นๆ ตอบ ด้วย​วิธี​นี้​
ผู้​เชี่ยวชาญ​แต่ละ​คน​อาจ​ที่​จะ​ต้อง​ตอบ​ข้อสอบ​ถาม​เป็น​จำนวน​หลาย​ครั้ง จนกว่า​ผล​การ​ประมาณ​การ​ที่​ได้​จะ​เป็น​ผล​
ที่​สอดคล้อง​กับ​ความ​คิด​เห็น​ของ​ผู้​เชี่ยวชาญ​ทุก​คน วิธี​เดลฟายนี้​เท่ากับ​เป็นการ​ตัด​ปัญหา​ของ​ความ​คิด​เห็น​ของ​
ผู้เ​ชี่ยวชาญผ​ ู้​หนึ่ง​ผู้​ใดท​ ี่​จะม​ ี​อิทธิพล​ต่อ​ความค​ ิด​เห็นข​ อง​ผู้เ​ชี่ยวชาญ​คน​อื่นๆ เพราะ​เป็นการ​แลก​เปลี่ยน​ความค​ ิดเ​ห็น​
กันด​ ้วยว​ ิธี​ที่ไ​ม่ใช่​ตัว​ต่อ​ตัว หรือพ​ บก​ ัน​ซึ่งห​ น้า

       จาก​ที่​กล่าว​มา​ข้าง​ต้น​พอ​จะ​สรุป​ได้​ว่า​หน้าที่​ด้าน​การ​คาด​คะเน​เหตุการณ์​ใน​อนาคต​นี้​ควร​ต้อง​เป็น​หน้าที่​ของ​
ผู้​บริหาร​ระดับ​สูง เพราะ​จะ​ทราบ​ความ​เป็น​ไป​ของ​สภาวะ​แวดล้อม​โดย​เฉพาะ​ที่​เกี่ยว​กับ​เรื่อง​สภาวะ​เศรษฐกิจ สังคม
และ​การเมือง ซึ่งเ​ป็น​สภาวะแ​ วดล้อม​ภายนอก​องค์การ​ได้​เป็น​อย่างด​ ี โดย​การอ​ ่าน​จากห​ นังสือพิมพ์​หรือ​รายงาน และ​
การ​ติดต่อ​และ​พูด​คุย​กับ​บุคคล​ต่างๆ อย่างไร​ก็​ดี​ใน​บาง​องค์การ​โดย​เฉพาะ​องค์การ​ที่​มี​ขนาด​ใหญ่​มัก​จะ​ตั้ง​หน่วย​งาน​
ซึ่ง​ประกอบ​ไป​ด้วย​ผู้​เชี่ยวชาญ​เพื่อ​ให้​ทำ​หน้าที่​ด้าน​นี้​เป็นการ​เฉพาะ ผู้​เชี่ยวชาญ​ด้าน​นี้​จะ​มี​ความ​รู้​ความ​ชำนาญ​เป็น​
พิเศษใ​น​การใ​ช้ห​ ลัก​คณิตศาสตร์แ​ ละส​ ถิติ เพื่อก​ ารห​ าความส​ ัมพันธ์​ของ​ข้อมูล​ใน​อดีต​ปัจจุบัน​และอ​ นาคต ใน​องค์การ​
ที่ต​ ั้งห​ น่วย​งาน​นี้ข​ ึ้น​โดย​ทั่วไป​ก็​จะใ​ห้ท​ ำ​หน้าที่ใ​ห้​คำป​ รึกษาแ​ ก่​ผู้​บริหารร​ ะดับส​ ูง​อย่างใ​กล้​ชิด

3. การก​ ำหนด​แนว​ปฏบิ ตั ิห​ รอื แ​ ผน (Formulating of Plans)

       หลัง​จาก​ที่​สามารถ​ค้นหา​โอกาส​ใน​การ​ดำเนิน​การ​ต่างๆ ที่​เปิด​ให้ ซึ่ง​ได้​มา​โดย​วิธี​ของ​การ​คาด​คะเน​แล้ว ใน​
ขั้น​ต่อ​ไป​ก็​มี​ความ​จำเป็น​ที่​จะ​กำหนด​แนว​ปฏิบัติ​หรือ​จัด​ทำ​แผน ซึ่ง​จะ​ทำให้​กิจกรรม​ต่างๆ ของ​องค์การ​เป็น​ไป​ใน​
แนวทางท​ ี่จ​ ะ​บรรลุว​ ัตถุประสงค์​หลัก​และ​รองท​ ี่ก​ ำหนดไ​ว้​มากข​ ึ้น การท​ ี่​จะต​ ้องจ​ ัด​ทำแ​ ผนข​ ึ้น​ก็เ​พราะ​ว่า การค​ าดค​ ะเน​
นั้น​ไม่​สามารถ​จะ​ให้​คำ​ตอบ​ได้​ว่า​แนว​ปฏิบัติ​อัน​ไหน​จะ​ดี​หรือ​เหมาะ​สม​ที่สุด การ​คาด​คะเน​เพียง​แต่​ให้​คำ​พยากรณ์​ว่า​
เหตุการณ์อ​ ย่างไ​หนม​ ี​โอกาสจ​ ะเ​กิด​ขึ้น​หรือ​ไม่​เกิดข​ ึ้น​มากน​ ้อย​แค่​ไหนเ​ท่านั้น ซึ่งต​ ้อง​เป็น​หน้าที่ข​ อง​ผู้​บริหารห​ รือ​ผู้รับ​
ผิด​ชอบ​ใน​การ​วางแผน​ที่​จะ​ตัดสิน​ว่า​เหตุการณ์​ที่​ได้​จาก​การ​คาด​คะเน​ว่า​จะ​เกิด​ขึ้น​หรือ​ไม่​เกิด​ขึ้น​นั้น​จะ​เป็น​ประโยชน์​
หรือ​เป็นส​ ิ่ง​สนับสนุน​ให้​องค์การส​ ามารถ​บรรลุว​ ัตถุประสงค์​ที่ต​ ั้ง​ไว้​หรือ​ไม่ ถ้า​เหตุการณ์ท​ ี่​เป็น​ผลม​ า​จากก​ ารค​ าดค​ ะเน​
เป็น​เหตุการณ์ท​ ี่​ไม่​เป็นผ​ ล​ดี​ต่อก​ าร​บรรลุว​ ัตถุประสงค์​หลัก​ของอ​ งค์การ​ก็​จะ​ต้อง​กำหนดแ​ นวทาง​ปฏิบัติ​เพื่อ​แก้ไข​หรือ​

                    ลิขสทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90