Page 105 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 105
อาหารกับกลุ่มอาการเมแ ทบอล ิก 9-41
เรื่องท่ี 9.4.2
ภาวะแทรกซ้อนข องโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานทุกประเภท มีสิ่งที่เหมือนกันคือน้ำตาลสูงกว่าปกติในเลือดระยะเวลานาน ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด คือ ภาวะแทรกซ้อนที่หลอดเลือดฝอย (Microvascular complications) และภาวะ
แทรกซ้อนข องห ลอดเลือดใหญ่ (Macrovascular complications)
1. ภาวะแ ทรกซอ้ นท หี่ ลอดเลอื ดฝ อย (Microvascular complications)
ภาวะแทรกซ้อนที่หลอดเลือดฝอยมีผ ลต่อจอต า ไต และประสาทส่วนป ลาย น้ำตาลในเลือดที่ส ูงอยู่เป็นเวลา
นาน กอ่ ใหเ้ กดิ ผ ลร า้ ยในห ลอดเลอื ดฝ อยท ำใหม้ ขี นาดแ คบล ง จนอ าจจ ะอ ดุ ต นั ได้ ทำใหเ้ ลอื ดไปเลีย้ งเนือ้ เยือ่ ข องอ วยั วะ
นั้นๆ ไม่ได้ สิ่งท ี่เกิดข ึ้นท ี่หลอดเลือดคือม ีก ารซึมผ ่านโปรตีนในเลือดอ อกไปจ ากเซลล์ข องผนังห ลอดเลือดของจอต า
และห น่วยไตท ี่เรียกว ่า โกลเมอ รูลัส ผนังห ลอดเลือดห นาขึ้นก ว่าปกติ
อีกประการห นึ่งค ือ เลือดจ ะแ ข็งตัวง ่าย เนื่องจากมีก ารเพิ่มส ร้างสารที่ช ่วยให้เลือดแข็งตัว
ผลลัพธ์จ ากเลือดแข็งต ัวง่ายร ่วมก ับข นาดข องหลอดเลือดตีบแคบ ทำให้จอต า (retina) และห น่วยไต ขาด
เลือด
อวัยวะทั้งส องน ี้ จะถูกกระทบเร็วก ว่าเซลล์ป ลายป ระสาทซึ่งจะมีการผ ิดป กติด้วยเช่นเดียวกัน
หากม ีก ารค วบคุมน้ำตาล จะทำให้ภาวะแทรกซ้อนลดลงดังท ี่ได้แสดงในการศ ึกษาก ารค วบคุมเบาห วานแ ละ
โรคแ ทรกซ้อน และระบาดวิทยาของการรักษาเบาหวานแ ละโรคแทรกซ้อนส ำหรับเบาห วานประเภทที่ 1 และม ีการวิจัย
การศึกษาความเป็นไปของเบาหวานในสหราชอาณาจักรสำหรับเบาหวานประเภทที่ 2 มาแล้ว โดยพบว่าการควบคุม
ระดับน้ำตาลให้อ ยู่ในเกณฑ์ดี สามารถล ดโรคแ ทรกซ้อนทางจ อตาแ ละไต
กลไกทนี่ ้ำตาลกอ่ ใหเ้ กิดภาวะแทรกซ้อน มี 5 อย่างค ือ
1.1 การเพ่ิมน้ำตาลกลูโคส ทำให้มีน้ำตาลกลูโคสให้กลายเป็นซอร์บิทอลและกาแล็กโทสกลายเป็นกาแล็ก-
ทิทอล ปฏิกิริยาน ี้ พบในการใช้น้ำตาลของจ อตา เลนส์ตา หน่วยไต หลอดเลือดฝ อยและเซลล์ป ลายประสาท ที่ส ำคัญ
คือ แม้ไม่มีอ ินซูลิน น้ำตาลส ามารถผ่านเข้าเซลล์ได้
น้ำตาลใหม่ที่เกิดข ึ้นมีค วามเข้มข ้นสูง ทำให้เกิดส ภาวะท ี่เรียกว่า ออกซ ิเดทีฟ เสตรส (Oxidative stress) ใน
ขณะเดียวกันท ำให้ร ะดับไนต ริกออกไซด์ (Nitric oxide) ลดล ง ซึ่งโดยป กติม ีหน้าที่ขยายห ลอดเลือด ผลค ือ หลอด
เลือดต ีบแ คบ ผลกร ะท บจากระบบประสาท ทำให้เกิดการห ย่อนสมรรถภาพท างเพศชายได้
1.2 การเกิดแอดว านซไ์ กลเคชนั่ เอนด ์โปรดกั ท์ (Advance glycation endproduct, AGE) น้ำตาลจ ะรวมก ับ
สารโปรตีน ในระยะแ รกสารน ี้จะค ืนตัวได้ แต่ร ะยะย าว สารน ี้จ ะจับต ัวแ น่น ไม่สลายตัว
ตัวอย่างสำคัญของเอ.จี.อี (AGE) คือ การที่น้ำตาลจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง แล้วกลายเป็น
ฮีโมโกลบินเอวันซ ี สารน ี้จ ะสลายได้เมื่อเม็ดเลือดแ ดงหมดอายุ คือ ราว 120 วัน จึงน ำม าใช้ป ระโยชน์ในก ารต ิดตาม
การค วบคุมน ้ำตาลในเลือด เนื่องจากน ้ำตาลในเลือดแ ต่ละว ัน แต่ละม ื้ออ าหารค ุมได้ไม่แ น่นอน หากผ ู้เป็นเบาห วานค ุม
น้ำตาลได้ต ลอดเวลาท ั้งก ่อนแ ละห ลังอ าหารจ ะท ำให้ร ะด ับฮ ีโมโกล บินเอว ันซ ี อยู่ในเกณฑ์ใกล้เคียงป กติเอ.จี.อี นี้ม ีผ ล
ต่อหลอดเลือดฝ อยที่เลี้ยงจ อตา และหน่วยไตด ้วย ดังน ั้น การควบค ุมฮีโมโกลบินเอว ันซี ให้อยู่ในเกณฑ์จะท ำให้ล ด
โรคแทรกซ้อนข องจอต า ไต และป ลายประสาทได้
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช