Page 107 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 107
อาหารกับกลุ่มอ าการเมแทบอ ลิก 9-43
การค้นพบกลวิธีทั้ง 5 นี้ เกิดขึ้นในช่วงเวลา ค.ศ. 1990 ถึง 2010 ทำให้มีความเข้าใจพยาธิชีวเคมีของการ
เกิดภ าวะแ ทรกซ้อนซ ึ่งเป็นช ่องท างให้ม ีก ารค ้นคว้าว ิจัยด ้านก ารใช้ย าช ่วยล ดภ าวะแ ทรกซ้อนท างต า ไต ปลายป ระสาท
ต่อไปในอ นาคต
2. ภาวะแ ทรกซอ้ นข องหลอดเลือดใหญ่ (Macrovascular Complications)
ในข ณะท รี่ ะดบั ก ลูโคสม ผี ลโดยตรงต อ่ ห ลอดเลือดฝ อยแ ตส่ ำหรบั ห ลอดเลือดใหญซ่ ึ่งม ผี ลต อ่ ส มองห ัวใจแ ละ
หลอดเลอื ดใหญน่ ัน้ มปี จั จยั ท เี่ สรมิ ก นั อ ยู่ 2 อยา่ งค อื ปจั จยั ด า้ นร ะดบั น ำ้ ตาล และป จั จยั ท มี่ ผี ลต อ่ ร ะบบไหลเวยี นปจั จยั
ระบบไหลเวียนแ ละร ะดับน ้ำตาลม ีฤทธิ์เสริมกันดังภาพท ี่ 9.10
ปัจจัยด้านระบบไหลเวียน น้ำตาลในเลือดส ูง
1. ระบบ เรนิน-แองจ ิโอเทนซ ิน 1. กลูโคส
2. เอนโดธีล ิน 2. เอ.จี.อี., อาร์.เอ.จี.อี
ออกซิเดทีฟ สเตร ส
ก ารอักเสบ
เอนโดธิเลียมทำห น้าที่ผ ิดป กติ
หลอดเลือดต ีบแข็ง
ภาพที่ 9.10 ปัจจยั ร ะบบไหลเวียนแ ละระดับนำ้ ตาลมฤี ทธิเ์สริมก ัน
หมายเหตุ: เอ.จี.อี = AGE = Advanced glycation endproduct
อาร์.เอ.จี.อี = RAGE = Receptor of AGE
2.1 ปจั จัยดา้ นระดับน้ำตาล
2.1.1 น้ำตาลที่มีระดับสูง มีพิษต่อเซลล์ของหลอดเลือด โดยผ่านทางสารโพลีออลและเฮกโซซามีน
ดังที่ก ล่าวแล้วในโรคแทรกซ้อนข องหลอดเลือดฝอย
2.1.2 บนั ทกึ ความจ ำนำ้ ตาลส ูง (glycemia memory) การท ี่ม ีน ้ำตาลส ูงในหลอดเลือด ไม่ว่าเป็นเวลาใด
ทำให้เกิดโรคแ ทรกซ้อนได้ต ลอดเวลา แม้ว่าบ างร ะยะน ้ำตาลจ ะล ดล ง โรคแ ทรกซ้อนน ั้นก ็ย ังค งอ ยู่ต ลอดไป ข้อส ำคัญ
คือในร ะยะแ รกท ีน่ ้ำตาลเพิ่มเพียงเล็กน ้อยในช ่วงพ รี-ไดอ าบ ติ ิสเมล ลิตสั นั้นโรคแ ทรกซ้อนไดเ้กิดข ึ้นม าแ ล้ว จึงแ นะนำ
ให้ค วบคุมร ะดับน้ำตาลตั้งแต่ร ะยะแรก สำหรับก ระบวนการท ี่ทำให้เกิดหลอดเลือดตีบแ ข็ง เกิดได้จากเอ.จี.อี (AGE)
และโปรต ีนไคเนสซ ี การเปลี่ยนน ี้เกิดในร ะดับยีนของเซลล์ ทำให้เป็นไปอย่างถาวรแก้ไขไม่ได้อีกต่อไป
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช