Page 111 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 111

อาหารก​ ับ​กลุ่ม​อาการเ​มแ​ ทบ​อล​ ิก 9-47

เร่ืองท​ ี่ 9.4.3
การจ​ ดั การ​กับโ​รคเ​บาห​ วาน

       เบาห​ วานเ​ปน็ โ​รคเ​รือ้ รงั ท​ มี​่ ส​ี าเหตส​ุ ว่ นห​ นึง่ จ​ ากพ​ นั ธกุ รรม และอ​ กี ส​ ว่ นห​ นึง่ จ​ ากพ​ ฤตกิ รรมท​ ที​่ ำใหเ​้ กดิ ภ​ าวะอ​ ว้ น​
ลงพุง เมื่อเ​กิดโ​รค​เบา​หวาน​แล้ว จะก​ ่อใ​ห้​เกิด​โรคแ​ ทรกซ้อน​ตามม​ า เพื่อ​ให้​เกิด​ความร​ ู้ ความเ​ข้าใจใ​น​ด้าน​การจ​ ัดการ​
โรค​ให้เ​กิด​ผล​ดี จำเป็นต​ ้องม​ ีค​ วาม​รู้พ​ ื้นฐ​ าน ดังนี้

       1) 	กลไก​การค​ วบคุม​ระดับ​น้ำตาลใ​น​เลือด
       2) 	ภาวะแ​ ทรกซ้อนข​ องโ​รคเ​บา​หวาน
       3) 	หลัก​การ​รักษาโ​รค​เบา​หวาน

1. 	กลไกก​ ารค​ วบคุม​ระดบั น​ ้ำตาลใ​น​เลอื ด

       1.1 		ระดบั น​ ำ้ ตาลใ​นเ​ลอื ด ระดับน​ ้ำตาลใ​นเ​ลือดม​ ีก​ ารเ​ปลี่ยนแปลงต​ ลอดเ​วลา ไม่ค​ งที่ข​ ึ้นอ​ ยู่ก​ ับอ​ าหารท​ ี่ไ​ด้ร​ ับ
และ​การ​สลายน​ ้ำตาล​สะสม​ที่​เก็บ​ไว้​ใน​ตับ

            1.1.1 	นำ้ ตาลใ​น​เลอื ดไ​ด้​มาจ​ ากอ​ าหาร การร​ ับ​ประทานอ​ าหาร​ทุก​ชนิด ไม่ว​ ่าจ​ ะ​เป็น แป้ง น้ำตาล ไขม​ ัน
โปรตนี อาหารแ​ ปง้ ทีร​่ บั ป​ ระทาน เมือ่ ส​ ิ้นส​ ดุ ก​ ารย​ อ่ ย จะไ​ดน้​ ้ำตาลก​ ลโู คส ซึ่งถ​ ูกด​ ูดซ​ มึ ผ​ ่านผ​ นงั ล​ ำไส้ เข้าส​ ูก​่ ระแสเ​ลอื ด
ส่ง​ไปย​ ังอ​ วัยวะต​ ่างๆ เพื่อ​ใช้​เป็น​พลังงาน อาหารไ​ ขม​ ัน ถูกย​ ่อย​และ​ดูด​ซึมเ​ข้าส​ ู่​กระแส​เลือด​เป็นไ​ขม​ ันไ​ตรกลีเซอไรด์
มี​กรด​ไขม​ ันบ​ าง​ชนิด สามารถ​เปลี่ยนเ​ป็น​น้ำตาล​ได้ อาหาร​โปรตนี เมื่อ​ย่อย​แล้วไ​ด้​หน่วย​เล็ก​ที่สุด​เป็นกร​ ดอะ​มิโ​น ซึ่ง​
กรดอ​ ะ​มิโ​น​บางช​ นิด​เปลี่ยนเ​ป็นน​ ้ำตาล​ได้ เช่น​เดียวกัน

            ส่วน​น้ำตาล​ที่ไ​ด้ร​ ับ​โดยตรง เช่น จากผ​ ล​ไม้ เข้า​สู่​วงจรก​ ารส​ ลาย​น้ำตาลใ​น​ร่างกาย เช่น​เดียวก​ ับ​น้ำตาล​
ที่มาจ​ าก​แป้งน​ ั้นเ​อง

            1.1.2 	นำ้ ตาลท​ ไ​่ี ดจ​้ ากก​ ารส​ ลายไ​กลโคเจนใ​นต​ บั นำ้ ตาลส​ ว่ นท​ ไี​่ มไ​่ ดน​้ ำไ​ปเ​ปน็ พ​ ลงั งาน ถกู เ​กบ็ ไ​วใ​้ นส​ ภาพ
​ไกลโคเจน​ใน​ตับ​และ​กล้าม​เนื้อ ไข​มัน​ส่วน​เกิน​จะ​ถูก​เก็บ​ไว้​ใน​เซลล์​ไข​มัน หาก​มี​ความ​จำเป็น​ที่​ร่างกาย​ขาด​กลูโคส
ไขม​ ันจ​ ะถ​ ูกน​ ำม​ าใ​ชเ้​ป็นพ​ ลังงาน แตผ่​ ลจ​ ากก​ ารใ​ชส้​ ารไ​ขม​ ัน จะเ​กิดเ​ป็นกร​ ด หากม​ ปี​ ริมาณม​ ากจ​ ะท​ ำใหเ้​กิดส​ ภาพเ​ลือด​
เป็นกร​ ด ทำใหเ้​ซลล์ต​ ่างๆ ทำงานไ​ม่ไ​ด้ต​ ามป​ กติ โปรตีนท​ ี่ถ​ ูกเ​ก็บไ​วใ้​นอ​ วัยวะต​ ่างๆ อาจจ​ ะถ​ ูกน​ ำม​ าสร​ ้างเ​ป็นก​ ลูโคสไ​ด้
แต่จ​ ะเ​ป็น​แหล่งส​ ุดท้าย​ที่จ​ ะถ​ ูกเ​คลื่อน​ย้ายอ​ อก​มา

       1.2 		ฮอร์โมนท​ ่เ​ี ก่ียวก​ บั ​การใ​ชน้​ ้ำตาลใ​น​รา่ งกาย
            1.2.1 	ฮอร์โมนท​ ่ีล​ ดร​ ะดบั ​นำ้ ตาล
                 1) 	อินซูลิน เป็น​ฮอร์โมน​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​สูงสุด​ใน​การ​ลด​ระดับ​น้ำตาล​ใน​เลือด อินซูลินมา​จาก​

เซลล์​เบต้าข​ องไ​อส์เล็ตส์ออฟลังเงอร์ฮันส์ (Islet of Langerhan) ที่อ​ ยู่​ใน​ตับอ​ ่อน
                 การ​ทำงาน​ของ​อินซูลิน จะ​เริ่ม​หลั่ง​ออก​มา​เพื่อ​ตอบ​สนอง​ต่อ​ระดับ​น้ำตาล​ใน​เลือด ถ้า​บริโภค​

น้ำตาลม​ าก อินซูลินจ​ ะห​ ลั่งม​ ากต​ ามไ​ปด​ ้วย เพื่อน​ ำน​ ้ำตาลเ​ข้าไปส​ ูเ่​ซลล์ เปรียบเ​ทียบอ​ ินซูลินเ​สมือนร​ ถบ​ รรทุกน​ ำส​ ินค้า​
ไป​ยังท​ ี่​หมาย ที่ผ​ นังเ​ซลล์​จะ​มี​ตัวร​ ับ​อินซูลิน ซึ่งจ​ ะ​เปิดท​ างใ​ห้​กลูโคส​เข้าส​ ู่​เซลล์ นำไ​ปใ​ช้​เป็นพ​ ลังงาน

                 ผู้​ที่​บริโภค​น้ำตาล​มาก เป็น​เวลา​นาน น้ำตาล​ส่วน​เกิน​จะ​จับ​กับ​กรด​ไข​มัน กลาย​เป็น​ไข​มัน​
ไตรกลีเซอไรด์ นำ​ไป​เก็บ​ไว้​ในเ​ซลล์ไ​ขม​ ัน​ใต้ผ​ ิวหนัง และไ​ข​มัน​ช่องท​ ้อง​ทำให้เ​กิด​โรค​อ้วน

ลิขสทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116