Page 112 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 112
9-48 อาหารและโภชนบ ำบัด
เซลล์ไขม ันจ ะม ีค วามด ื้อต ่อฤ ทธิ์อ ินซูลิน ทำให้ไม่ส ามารถน ำน ้ำตาลเข้าไปได้อ ีก น้ำตาลจ ะล ้นอ ยู่
ในก ระแสเลือด จนเข้าส ู่ระยะเบาหวาน
ผู้ที่เป็นเบาหวานนานหลายปี น้ำตาลจะย้อนกลับไปทำลายเซลล์เบต้าในตับอ่อน ในที่สุดจะไม่
ทำงานอีก ทำให้มีค วามจำเป็นที่จ ะต้องฉ ีดอ ินซูลินเพื่อล ดระดับน ้ำตาล
2) อนิ ครีตนิ (Incretin) เป็นฮอร์โมนจากทางเดินอาหาร เมื่อรับประทานอาหารและมีการดูดซึม
อาหาร (incretin) จะหลัง่ อ อกม าเสรมิ ฤ ทธอิ์ นิ ซลู นิ และช ว่ ยล ดฮ อรโ์ มนก ลคู าก อน ทมี่ ฤี ทธิเ์ พิม่ น ำ้ ตาล ชว่ ยท ำก ระเพาะ
อาหารบีบตัวช้า จึงท ำให้ลดความอยากอ าหาร
3) อะมัยลิน (Amylin) ได้จากเซลล์เบต้าของตับอ่อน มีฤทธิ์ช่วยให้กระเพาะอาหารบีบตัวช้าลง
ทำให้ไม่ห ิวอ าหาร และยังช่วยย ับยั้งก ารหลั่งก ลูค าก อนด้วย ผลด ีคือน้ำตาลห ลังอ าหารไม่สูงมาก
1.2.2 ฮอร์โมนเพ่มิ ร ะดบั น ้ำตาล
1) กลูคากอน (Glucagon) หลั่งมาจากแอลฟาเซลล์ในตับอ่อนมีฤทธิ์ให้ตับสลายไกลโคเจนเป็น
กลูโคสแ ละส ร้างก ลูโคสจากกรดไขม ันและกรดอ ะมิโน ไกลโคเจน จะเริ่มหลั่งเมื่อน้ำตาลม ีระดับต ่ำ 65-70 มก./ดล.
2) แคทิโคลอะมีน (Catecholamine) จากต่อมหมวกไตส่วนกลางจะหลั่งในช่องเดียวกับกลูคา
กอน ช่วยให้ต ับส ลาย กล ูกาก อนเป็นน ้ำตาล ลดก ารนำก ลูโคสเข้าส ู่ก ล้ามเนื้อ สลายไขม ันเป็นกร ดไขม ันเพื่อน ำไปส ร้าง
น้ำตาลกลูโคสตัวใ หม่
1.2.3 ฮอรโ์ มนกระตนุ้ ก ารเจรญิ เตบิ โต (Growth hormone) หลั่งจ ากต่อมใต้สมองเมื่อระดับน ้ำตาล 60-
65 มก./ดล. ช่วยให้ต ับส ลาย ไกลโคเจนเป็นก ลูโคส ลดก ารนำเข้าก ลูโคสส ู่ก ล้ามเนื้อ สลายไขม ันเป็นกร ดไขม ัน สลาย
โปรตีนเป็นก รดอะม ิโน เพื่อน ำไปส ร้างกลูโคสใหม่
1.2.4 คอรต์ ิซอล (Cortisol) จากต ่อมหมวกไตส ่วนเปลือก (Cortex) หลั่งเมื่อน ้ำตาลต่ำกว่า 60 มก./
ดล. ช่วยให้ต ับส ลายไกลโคเจน
การทำงานของฮ อร์โมนท ี่ก ล่าวแล้ว จะเป็นพลวัต ไม่อยู่นิ่งขึ้นกับร ะดับน้ำตาลก ลูโคสในเลือดในระยะ
อดอาหาร และร ะยะห ลังอาหาร
2. ภาวะแทรกซอ้ นของโรคเบาห วาน
น้ำตาลในเลือดหลังจ ากง ดอาหารข ้ามค ืนเป็นเวลา 8 ชั่วโมงอยู่ในช่วง 70 ถึง 99 มิลลิกรัมต่อเลือด 1 เดซิลิตร
เมื่อร ับประทานอ าหารแล้ว น้ำตาลจะเพิ่มขึ้นในเลือด และจะค ่อยๆ ลดลงเพราะมีก ารนำน ้ำตาลเข้าสู่เซลล์ ในระยะ 2
ชั่วโมงห ลังอาหารน้ำตาลไม่เกิน 140 มิลลิกรัมต ่อเลือด 1 เดซิลิตร
2.1 โรคแ ทรกซ้อนข องหลอดเลอื ดฝอย การใช้น้ำตาลในอวัยวะบางแ ห่ง ได้แก่ จอตา (retina) หน่วยกรอง
ของไต (glomerulus) และป ระสาทส่วนป ลาย ไม่ต้องอ าศัยฤทธิ์ของอินซูลิน ดังนั้น เมื่อน้ำตาลม ีระดับสูงกว่าปกติ จะ
ทำให้น ้ำตาลส ่วนเกิน เข้าไปท ำให้อ วัยวะด ังก ล่าวเสื่อมล ง น้ำตาลเข้าไปส ู่อ วัยวะเหล่าน ี้โดยท าง หลอดเลือดฝ อย จึงจ ัด
กลุ่มว ่าโรคแทรกซ้อนข องห ลอดเลือดฝ อย
2.2 โรคแ ทรกซอ้ นของหลอดเลือดเส้นใหญ่ เป็นผลจากก ารที่ร ะดับน้ำตาลสูง และถ ูกนำไปใช้ในเซลล์อ ย่าง
มากมาย เกิดเป็นพ ลังงานส่วนห นึ่ง และน ำไปเก็บเป็นไกลโคเจนท ี่ตับ และกล้ามเนื้อ น้ำตาลที่เหลือใช้จะถูกนำไปร วม
กบั ก รดไขม ัน กลายเปน็ ไตรกลีเซอไรด์ เก็บอ ยูใ่ นเซลลไ์ ขม ัน ซึ่งส ะสมม ากข ึน้ ก ลายเปน็ น ำ้ ห นักส ่วนเกนิ ในก ระบวนการ
ใช้น้ำตาลในเซลล์ จะเกิดร ีแอ็กตีฟ ออกซิเจน สปิซ ีส์ ( Reactive oxygen species) และเหนี่ยวน ำให้เกิดป ฏิกริยา
ดังนี้
ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช