Page 113 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 113
อาหารก ับกลุ่มอาการเมแ ทบอ ลิก 9-49
1) เกิดสารพอลีอ อล (Polyol) จำนวนม าก มีส่วนทำลายเส้นประสาท
2) เกิดแ อดว านซ ์ไกลเคช ันโพร ดักซ์ (Advanced glycation product) ทำใหผ้ นังห ลอดเลือดเกิดก าร
อักเสบ และต ีบแข็ง
3) เกิดก ารกระต ุ้นโปรต ีนไคเนส ซี ( Protein kinase C)
4) กระตุ้นเฮกโซซ ามีน (Hexosamine) ทำให้ห ลอดเลือดตีบแข็ง
นอกจากนี้ ผู้เป็นเบาหวานที่ม ีไขมันสะสมในช ่องท้อง จะส ลายไขมันได้ก รดไขมันอิสระ (FFA) จะไป
ทำให้เยื่อบ ุหลอดเลือดเกิดก ารอักเสบ ผนังห ลอดเลือดหนา และม ีแ คลเซียมแ กะ กลุ่มก้อนผิดปกติน ี้เรียกว ่า พล้าก
(Plaque)
เมื่อมีการไหลเวียนเลือด จะมีแรงดันไปที่พล้ากนี้ ถ้ามีการแตกตัวออกจากผนังหลอดเลือด เรียกว่า
ธรอมบัส ซึ่งจะถูกนำพาไปในกระแสเลือด อาจไปอุดตันหลอดเลือดหัวใจทำให้ กล้ามเนื้อห ัวใจข าดเลือด หัวใจว าย
ถ้าอ ุดที่หลอดเลือดสมอง เนื้อเยื่อส มองไม่ได้รับเลือด เกิดอ าการอัมพฤกษ์ อัมพาต ถ้าอ ุดต ันห ลอดเลือดส ่วนป ลาย
ขา จะท ำให้แผลห ายช้า หรือเกิดเนื้อเน่าตาย ต้องต ัดน ิ้วเท้า หรือเท้า หรือข า
2.3 โรคแทรกซ้อนข องร ะบบป ระสาทอัตโนมตั ิ ก่อให้เกิดอาการได้หลายร ะบบ
- ระบบห ลอดเลอื ด ทำใหป้ รบั ค วามด นั โลหติ ไดช้ า้ โดยเฉพาะจ ากท า่ น อนเปน็ น ัง่ หรอื น ัง่ เปน็ ย นื ความ
ดันจ ะลด ทำให้ห น้าม ืดเป็นล ม
- ระบบทางเดินอ าหาร กระเพาะอาหารบ ีบตัวช ้า ท้องอืด ลำไส้เคลื่อนตัวช ้า ทำให้ท ้องผูก หรือทำให้
ท้องเสีย จากน้ำตาลสูง พาให้เกิดก ารข ับอุจจาระบ ่อย
- ระบบสืบพันธุ์ ทำให้สูญเสียสมรรถภาพท างเพศ
2.4 ระบบเม็ดเลือดขาว มีประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อได้น้อยลงในขณะที่น้ำตาลทำให้เชื้อโรคเติบโตเร็ว
ขึ้น จึงติดเชื้อได้ง ่าย และหายยาก
2.5 ผิวหนงั มีอ าการคัน ติดเชื้อร าได้ง ่าย
2.6 กระดูกและขอ้ ผิดรูป
3. หลกั ก ารร ักษาโรคเบาหวาน
การรักษาโรคเบาหวานต้องอ าศัยการทำงานร ่วมก ันระหว่างส หสาขาว ิชาชีพ บุคคลสำคัญคือ ผู้เป็นเบาหวาน
ต้องร่วมมืออยู่ในทีมของการดำเนินงาน ดังนั้นต้องมีการปรับความเข้าใจให้ตรงกันในด้านเป้าหมาย และวิธีการ
รักษา
3.1 เป้าห มายในการร ักษา ผู้เป็นเบาห วานร ่วมมือก ับท ีมส หว ิชาชีพในก ารตั้งเป้าหมายร ่วมกัน ดังนี้
1) ต้องปลอดอาการของเบาหวาน คือลดอาการปัสสวะบ่อย ลดอาการกระหายน้ำ น้ำหนักตัวอยู่ใน
เกณฑ์
2) ตอ้ งป ลอดโรคแ ทรกซอ้ นเฉยี บพลนั คอื นำ้ ตาลอ ยใู่ นเกณฑท์ เี่ หมาะส ม ไมเ่กดิ อ าการน ำ้ ตาลต ำ่ หรอื
น้ำตาลสูงเกินไ ป
3) ต้องปลอดโรคแ ทรกซ้อนเรื้อรัง ทั้งห ลอดเลือดฝอย และหลอดเลือดใหญ่
4) ผู้ป ่วยต้องม ีความรู้ในการด ูแลตนเอง จากก ารให้ข้อมูลของทีมผู้รักษา
เพื่อให้ได้ผลตามเป้าหมาย ต้องติดตามระดับน้ำตาลในเลือดทั้งก่อนและหลังอาหาร หาระดับน้ำตาลสะสม
ฮตีโรมวโจกเทลบ้าอินยเอ่างวนัน้อซยี (ปHีลbะAค1รCั้ง)เพทุกื่อด3ูเบเดาหือนวาตนิดขึ้นตจามอตตราวจจอต า ตรวจปัสสาวะ หาร ะดับไขมัน และเจาะเลือดดูหน้าที่ไต
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช