Page 118 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 118

9-54 อาหารแ​ ละ​โภชน​บำบัด

2. 	บทบาท​ของ​นกั ก​ ำหนดอ​ าหาร

       ผู้​ให้ค​ ำป​ รึกษาด​ ้าน​อาหาร หรือ​นักก​ ำหนด​อาหาร มีหน้าท​ ี่​จัดการอ​ าหารต​ ามข​ ั้นต​ อนค​ ือ
       2.1 		การป​ ระเมินป​ ัญหาข​ อง​ผู้ป​ ว่ ย  ตามท​ ี่ไ​ด้ร​ ับป​ รึกษา เช่นแ​ พทย์ร​ ะบุโ​รคเ​บาห​ วานป​ ระเภทใ​ด เช่น เบาห​ วาน
​ประเภทท​ ี่ 2 เป็น​มาน​ าน 10 ปี มี​โรคแทรก​ซ้อนค​ ือ​ไตเ​รื้อรัง​ระยะ​ใด มีโ​รค​เฉียบพลันข​ ณะ​นี้​คือ​ติดเ​ชื้อ​ทางเ​ดิน​ปัสสาวะ
เป็นต้น
       2.2 		บนั ทึก​ข้อมูลข​ อง​ผ้​ปู ่วย ข้อมูล​ทั่วไป อาหาร เพศ เชื้อช​ าติ ระดับก​ ารศ​ ึกษา ข้อมูลก​ าร​ตรวจร​ ่างกาย ความ​
สูง น้ำห​ นัก ความ​ดัน​โลหิต ดู​ข้อมูลท​ าง​ห้องป​ ฏิบัติก​ าร เช่น ระดับน​ ้ำตาล หน้าที่ไ​ต ไข​มัน
       2.3 		วิเคราะห์​ข้อมูล จากข​ ้อมูล​ด้าน​โรคผ​ ล​การ​ชันสูตรท​ าง​ห้องป​ ฏิบัติ​การ รวบรวมม​ า​เป็นห​ ัวข้อท​ ี่​จะ​ต้องใ​ห​้
คำป​ รีกษา (problem) ค้นหา​สาเหตุ​ของป​ ัญหา​ร่วม​กัน (etiology) รวบรวม​อาการ (symptom) เช่น ปัสสาวะ​บ่อย และ​
อาการ​แสดง (sign) เช่น พบ​ว่าม​ ีไ​ข้​สูงร​ วมเ​รียกว​ ่า PES
       2.4 		ดำเนิน​การ​ให้​คำ​ปรึกษา กำหนด​ปริมาณ​แคลอรี​ที่​ได้​รับ​แต่ละ​วัน แบ่ง​เป็น​อาหาร​กลุ่ม​คาร์​โบไฮเดรต
เนื้อส​ ัตว์ ไขม​ ัน ผัก ผลไ​ม้ และน​ ม แล้ว​นำ​มา​แบ่งเ​ป็นอ​ าหาร 3-6 มื้อ ตาม​กิจวัตรป​ ระจำ​วัน และเ​หมาะก​ ับย​ าท​ ี่​ได้​รับ

3. 	การ​จัดการ​อาหารต​ าม​ประเภท​ของเ​บาห​ วาน

       3.1 		เบา​หวาน​ประเภท​ท่ี 1 (Type 1 DM) และ​ผู้​ป่วย​เบา​หวา​นอื่นๆ ที่​ต้อง​ฉีด​อินซูลิน ต้อง​จัด​อาหาร​ตาม
พล​ ัง​งานท​ ี่ค​ วร​ได้ ตามก​ ิจกรรม​ประจำ​วัน และแ​ ผนการ​ฉีดอ​ ินซูลิน เช่น อินซูลิน​ผสม 2 เวลา เช้า เย็น ก่อนอ​ าหาร​หรือ​
อินซูลิน ออกฤ​ ทธิ์ส​ ั้น 3 เวลาก​ ่อนอ​ าหาร ร่วม​กับ​อินซูลินอ​อก​ฤทธิ์น​ าน​ก่อนน​ อน หรือ​การใ​ช้​อินซูลินอ​อก​มาไ​ด้​ตลอด​
เวลา และป​ รับ​ขนาด​ยา​อินซูลินต​ ามอ​ าหาร​แต่ละม​ ื้อ​ซึ่ง​คิดค​ ำนวณ​ตามป​ ริมาณ​คาร์โบไฮเดรต

       3.2 		เบา​หวานป​ ระเภท​ที่ 2 (Type 2 DM) มีท​ ั้ง​ผู้​ที่ใ​ช้​ยาเ​ม็ด​ร่วมด​ ้วย และผ​ ู้​ที่ค​ ุม​อาหารเ​พียงอ​ ย่างเ​ดียว
       การ​คุม​อาหารม​ ุ่ง​หมาย​ให้​ลดน​ ้ำตาล ลดไ​ข​มัน​ในเ​ลือด และ​ลดค​ วาม​ดันโ​ลหิต​ด้วย
       ขั้น​แรก​ของก​ าร​วางแผน​โภชน​บำบัด ต้อง​เริ่ม​ด้วยก​ ารใ​ห้​ความ​รู้​เรื่องค​ าร์โบไฮเดรต ที่มา​จาก ผลไ​ม้ ธัญ​ญ​พืช
แป้ง น้ำมัน และข​ อง​หวาน ต้องท​ ราบ​สัดส่วนม​ าตรฐานข​ อง​อาหาร และป​ ริมาณท​ ั้งหมด​ที่​ควร​ได้
       ควร​ออกก​ ำลังก​ าย จะ​ช่วยเ​สริม​การ​ออก​ฤทธิ์ข​ อง​อินซูลิน การ​ออกก​ ำลังก​ ายเ​พียงอ​ ย่าง​เดียว มี​ผลต​ ่อ​การล​ ด​
น้ำห​ นักน​ ้อย​กว่าก​ าร​ควบคุม​อาหาร แต่จ​ ะช​ ่วย​เพิ่ม​ความแ​ ข็ง​แรง​ของ​หัวใจ​และ​หลอดเ​ลือด​ได้
       ผู้เ​ป็นเ​บาห​ วาน​ที่อ​ ้วน​มาก ดัชนีม​ วลก​ าย เกิน 27 อาจ​ต้องการ​ยาช​ ่วย​ลด​ความอ​ ยากอ​ าหาร ซึ่งจ​ ะ​ลดน​ ้ำ​หนัก​
ได้ร​ ้อยล​ ะ 5-10 ของน​ ้ำ​หนักต​ ั้งต​ ้น
       ส่วนผ​ ู้​ที่ดัชนี​มวลก​ าย เกิน 35 ขึ้น​ไป อาจ​พิจารณาก​ ารผ​ ่าตัด​รัด​กระเพาะอ​ าหาร หรือ​ตัดก​ ระเพาะอ​ าหาร​บาง​
ส่วน​ออกไ​ ป
       3.3 		เบาห​ วานป​ ระเภทท​ ่ี 1 ชว่ งว​ ยั ร​ นุ่ ต้องม​ ผี​ ูด้​ ูแลร​ ักษาท​ ั้งแ​ พทย์อ​ ายุรก​ รรม และ​กุมารเ​วชศาสตร์ ร่วม​กับท​ ีม​
พยาบาล นักก​ ำหนดอ​ าหาร นักก​ ายภาพบำบัด ผูเ้​ชี่ยวชาญด​ ้านพ​ ฤติกรรมศ​ าสตร์ ร่วมก​ ับเ​ด็กแ​ ละผ​ ู้ป​ กครองซ​ ึ่งน​ ับเ​ป็น​
บุคคลส​ ำคัญ​ที่สุด
       3.4 		เบาห​ วาน​ประเภท​ที่ 2 ช่วง​วัยร​ ุ่น เบาห​ วานท​ ี่เ​คย​คิด​ว่า​เกิด​กับค​ น​สูงอ​ ายุ​นั้น ปัจจุบันพ​ บ​ว่า เกิด​กับ​เด็ก​
และ​วัย​รุ่น​ที่อ​ ้วน​และ​มีก​ รรมพันธุ์ท​ างเ​บา​หวาน
       เบา​หวานป​ ระเภท​ที่ 2 ช่วงแ​ รก​ใช้​ยา​เม็ด​ได้ แต่เ​มื่อ​รักษา​ใน​ระยะ​ยาว​อินซูลิน​ไม่​สามารถผ​ ลิต​จากต​ ับ​อ่อนไ​ด​้
อีก จะต​ ้อง​ใช้ย​ าฉ​ ีดอ​ ินซูลินแ​ ทน​ยา​เม็ด

                             ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123