Page 119 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 119
อาหารกับก ลุ่มอาการเมแทบอ ล ิก 9-55
3.5 สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานมาก่อน ก่อนตั้งครรภ์ ต้องมีการเตรียมพร้อม ให้คุมเบาหวานได้โดยให้
ค่าเฉลี่ยใกล้เคียงปกติมากที่สุด ขณะตั้งครรภ์ ไม่ควรใช้ยาเม็ด ต้องฉีดอินซูลินและปรับอาหารให้มารดามีน้ำหนัก
ไม่เกิน แต่ข ณะเดียวกันท ารกต ้องเติบโตเป็นปกติ
3.6 เบาห วานในชว่ งต ง้ั ค รรภ์ (Gestational diabetes mellitus, GDM) เกิดในคนที่ไม่เคยเป็นเบาหวานม า
ก่อน และเมื่อตั้งครรภ์ฮอร์โมนจ ากรกทำให้เพิ่มร ะดับน้ำตาล หลังคล อดน้ำตาลเข้าส ู่ระดับป กติ แต่ต้องติดตามต รวจ
ระดับน ้ำตาล เนื่องจากม ีค วามเสี่ยงท ี่จ ะเป็นเบาห วานได้
3.7 ผู้สูงวัย มีโอกาสเป็นเบาหวานได้มากขึ้นตามวัย เพราะตับอ่อนผลิตอินซูลินได้น้อยลง หรือเซลล์
ไมต่ อบส นองอ นิ ซลู นิ อาจม คี วามอ ว้ น การใชแ้ รงน อ้ ยล ง ใชย้ าห ลายข นาน หรอื ม โี รคห ลายโรคพ รอ้ มก นั ผสู้ งู ว ยั ต อ้ งการ
อาหารเหมาะส มก ับว ัยและโรคที่มีอ ยู่ห ลายโรค
4. การอ อกแบบอาหาร
ควรเริ่มต้นที่ประวัติการรับประทานอาหารที่เคยรับประทานมาก่อน เพื่อจัดอาหารให้ตรงกับชีวิตประจำวัน
รวมกับป ระเพณีและความเชื่อทางศ าสนา ข้อมูลที่นำม าคิดค ำนวณแคลอรีได้จาก ดชั นีมวลก าย ซึ่งจ ะบอกว่าน้ำหนัก
ปกติ น้อยไป หรือม ากไป จะเป็นดัชนีบ ่งบอกว่าใช้ต ัวคูณใด
ดัชนีม วลกาย = น้ำหนักตัวเป็นก ิโลกรัม
(ส่วนส ูงเป็นเมตร)2
ในค นไทย ค่า ดัชนีมวลก าย เป็นด ังนี้
ค่าป กติ 19.5-22.9 กิโลกรัม/ตารางเมตร
น้ำหนักเกิน 23-25 กิโลกรัม/ตารางเมตร
อ้วน 25-27 กิโลกรัม/ตารางเมตร
อ้วน มาก 27 ขึ้นไป กิโลกรัม/ตารางเมตร
สตู รง ่ายๆ ในก ารค ำนวณ คือ ใช้น ้ำหนักที่ควรจะเป็น (Ideal body weight) คูณ 30 ในค นที่น ้ำห นักป กติ คูณ
ด้วย 35 ถ้าน ้ำหนักน้อยกว่าป กติ และค ูณด้วย 25 ในผู้ที่น ้ำหนักเกินหรืออ้วน
น้ำห นักที่ควรจะเป็น คำนวณ ดังนี้
ผู้ชายค ิดจากความสูงเป็นเซนติเมตร —100 หน่วยเป็นกิโลกรัม
ผู้ห ญิง (ความส ูงเป็นเซนติเมตร — 100) × 0.9
หรือ ความสูงเป็นเซนติเมตร — 110
ตัวอย่าง ผู้ชายส ูง 170 เซนติเมตร น้ำห นักควรเป็น 170—100 = 70 กิโลกรัม
ผู้ห ญิงสูง 160 เซนติเมตร น้ำห นักควรเป็น 160—110 = 50 กิโลกรัม
ตวั อย่าง ผู้ชายส ูง 170 เซนติเมตร น้ำห นัก 85 กิโลกรัม คำนวณ ดัชนีมวลกาย ได้
18.752 = 29
แสดงว่าอ ้วน ต้องใช้ตัวค ูณ 25 ในการค ำนวณแ คลอรี
น้ำห นักที่ค วรจ ะเป็น คือ 170 — 100 = 70 กิโลกรัม
ปริมาณอ าหารท ี่ควรได้ คือ น้ำหนักที่ค วรจะเป็น × 25
70 × 25 = 1,750 กิโลแ คลอรี/วัน
ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช