Page 117 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 117

อาหารก​ ับ​กลุ่ม​อาการ​เม​แทบอ​ ​ลิก 9-53

เรื่อง​ที่ 9.4.4
การจ​ ดั การ​อาหาร​สำหรบั โ​รค​เบาห​ วาน

       เนื่องจาก​น้ำตาล​ใน​เลือด​มา​จาก​อาหาร​ที่​รับ​ประทาน โดย​เฉพาะ​หลัง​อาหาร​ระดับ​น้ำตาล​จะ​สูง​ขึ้น​มาก ก่อน​
อาหาร​ใน​คนป​ กติน​ ้ำตาล 70-99 มก./ดล. แต่​หลังอ​ าหาร 2 ชั่วโมง จะ​เพิ่ม​ถึง 139 มก./ดล. ผู้​เป็น​เบาห​ วานจ​ ะต​ ้อง​ระวัง​
รักษา​ระดับ​น้ำตาล​ก่อนอ​ าหารอ​ ยู่ใ​น​เกณฑ์ 70-130 มก./ดล. และห​ ลังอ​ าหารไ​ม่​เกิน 180 มก./ดล. อย่างไรก​ ็ด​ ี น้ำตาล​
ระดับต​ ่ำก​ ว่า 50 มก./ดล. จะ​ทำให้​เกิด​อาการ​ใจ​สั่น เหงื่ออ​ อก ชีพจร​เร็ว วิงเ​วียน​ศีรษะ เป็นล​ ม หมดส​ ติ อาจม​ ี​อันตราย​
รุนแรง​ถึง​กับ​เสีย​ชีวิต ใน​ทาง​ตรง​ข้าม​หาก​น้ำตาล​สูง​เกิน​ไป​จะ​ก่อ​ให้​เกิด​การ​อักเสบ​ของ​ผนัง​หลอด​เลือด​นำ​ไป​สู่​ภาวะ​
หลอด​เลือด​ตีบแ​ ข็ง​ได้​ใน​ระยะย​ าว

       มีข​ ้อมูลใ​นโ​ครงการ​ป้องกัน​เบาห​ วาน​ที่ใ​ช้โ​ภชน​บำบัด ให้ค​ ำป​ รึกษาด​ ้านอ​ าหาร และ​การอ​ อก​กำลัง​กาย​สัปดาห​์
ละ 150 นาที ทำให้ก​ ลุ่มผ​ ู้อ​ ยู่​ใน​ระยะ​ก่อน​เบาห​ วาน (Pre - DM) พ้น​จากก​ าร​เป็น​เบาห​ วานไ​ด้ร​ ้อยล​ ะ 58

       ผู้​ที่ใ​ช้​ยาเ​ม็ด​ลด​น้ำตาล ยา​ฉีดอ​ ินซูลิน ยัง​คง​ต้อง​จัดการเ​รื่อง​อาหาร​ควบคู่​กัน​ไป ทั้ง​ยังต​ ้อง​ระวังม​ ิ​ให้​น้ำตาล​
ต่ำ​ในช​ ่วง​เวลาท​ ี่​ยาอ​ อก​ฤทธิ์ส​ ูงสุด

       สิ่ง​ที่จ​ ำเป็นส​ ำหรับ​การ​จัดการอ​ าหารน​ ั้น ประกอบด​ ้วย
       1) 	การร​ ับ​รู้ค​ วาม​สำคัญข​ องโ​ภชนบ​ ำบัด
       2) 	ผู้​ให้โ​ภชน​บำบัดค​ ือน​ ัก​กำหนด​อาหารเ​ป็น​ผู้​มี​บทบาทส​ ำคัญ
       3) 	การ​จัด​อาหาร​ต้องใ​ห้​เหมาะ​สม​กับป​ ระเภท​ของ​ผู้ป​ ่วย
       4) 	ต้องม​ ีก​ าร​ออกแบบก​ าร​ให้ค​ ำป​ รึกษา
       5) 	วิธีก​ ารจ​ ัด​อาหาร​แลกเ​ปลี่ยน
       6) 	ตัวอย่างร​ ายการ​อาหารส​ ัดส่วน​อาหาร​แต่ละม​ ื้อ

1. 	ความส​ ำคญั ​ของโ​ภชน​บำบดั ​ทางการ​แพทย์

       การ​ให้โ​ภชน​บำบัด (Medical Nutrition Therapy) มีป​ ระโยชน์ ดังนี้
       1.1 		รักษา​ระดับ​น้ำตาล​ใน​เลือด​ให้​อยู่​ใน​เกณฑ์​ไม่​สูง​เกิน​ไป​ไม่​ต่ำ​เกิน​ไป ช่วย​ลด​โรค​แทรกซ้อน​ทั้ง​เฉียบพลัน​
และ​เรื้อรัง
       1.2 		ปอ้ งกนั ​หรือ​ชะลอ​โรค​เบา​หวาน สำหรับผ​ ู้​มี​น้ำตาลผ​ ิด​ปกติใ​นก​ ลุ่ม​ก่อนเ​บาห​ วาน (Pre - DM) ไม่​ว่าจ​ ะ​ม​ี
น้ำตาล​สูง​ในช​ ่วงง​ ดอ​ าหาร (Impaired fasting glucose, IFG) หรือ​น้ำตาลส​ ูง​ในช​ ่วง​หลังอ​ าหาร (Impaired glucose
toterance, IGT) บาง​ราย​มี​ทั้ง 2 ชนิดร​ วม​กัน ใน​กลุ่ม​ก่อน​เบา​หวาน หาก​ไม่ป​ ้องกัน จะก​ ลายเ​ป็นเ​บาห​ วาน​ร้อยล​ ะ 11
ต่อป​ ี แต่​ถ้า​ป้องกันด​ ้วยก​ ารป​ รับพ​ ฤติกรรม​ด้านอ​ าหารร​ ่วม​กับก​ ารอ​ อกแรง​กาย ป้องกันไ​ด้​ร้อย​ละ 58
       1.3 		การ​ให​โ้ ภชน​บำบัด ช่วยฟ​ ื้นฟู​สภาพร​ ่างกายห​ ลัง​การ​เจ็บ​ป่วยเ​ฉียบพลันเ​ช่น หลังผ​ ่าตัด การ​บาด​เจ็บ​จาก​
อุบัติเหตุ การ​ติดเ​ชื้อ
       1.4 		ใน​ผู้​ท่ี​ยัง​ไม่​เจ็บ​ป่วย โภชน​บำบัด​ช่วย​สร้าง​เสริมสุข​ภาพ​จาก​การ​บริโภค​อาหาร​ที่​มี​คุณค่า มี​ประโยชน์​ต่อ​
ร่างกาย ทำให้​สุขภาพ​ดี ไม่​เจ็บป​ ่วย​บ่อย

ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122