Page 108 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 108

9-44 อาหารแ​ ละ​โภชนบ​ ำบัด

            2.1.3 	ภาวะด​ ้ืออ​ ินซูลนิ ที่​เกิดใ​น​เบา​หวาน​ประเภท​ที่ 2 นั้น เป็นป​ ัจจัยท​ ี่ท​ ำให้​เกิดห​ ลอด​เลือด​ตีบแ​ ข็งไ​ด้​
โดย​มิต​ ้อง​มีป​ ัจจัย​อื่นส​ นับสนุน​ภาวะ​ดื้ออ​ ินซูลินเ​ป็นป​ ัจจัยส​ ำคัญ​ที่​ทำให้​หลอด​เลือดต​ ีบ​แข็ง

            2.1.4 	ผลข​ องเ​อ.จ.ี อี (Advanced glycation end product) เป็นส​ ารโ​ปรตีนท​ ี่ท​ ำให้เ​อนโ​ดท​ ิเ​ลียมท​ ำงานผ​ ิด​
ปกติ ในท​ ี่สุด​ทำให้​หลอด​เลือดข​ าด​ความย​ ืดหยุ่น

            ความ​รู้​เรื่อง​เอ.จี.อี​มี​ประโยชน์​ใน​การ​ค้นคว้า​วิจัย​เรื่อง​ยา​ที่​สามารถ​สลาย​เอ.จี.อี​ได้​ซึ่ง​จะ​ช่วย​ลด​ภาวะ​
หลอด​เลือดต​ ีบ​แข็ง​ต่อไ​ป

            2.1.5 	ผลจ​ าก​ อาร.์ เอ.จ.ี อี การท​ ำงานข​ องเ​อ.จี.อีจ​ ะไ​ปจ​ ับก​ ับต​ ัวร​ ับก​ ่อน หรือต​ ัวร​ ับเ​อ.จี.อีก​ ่อน ตัวร​ ับอ​ าร์.
เอ.จ.ี อน​ี อี​้ ยทู​่ ผี​่ วิ เ​ซลล์ จดั เ​ปน็ อ​ มิ มโ​ู นโ​กล​ บล​ นิ ช​ นดิ ห​ นึง่ ม​ ฤ​ี ทธทิ​์ ที​่ ำใหเ​้ กดิ ก​ ารอ​ กั เสบ ตามม​ าด​ ว้ ยห​ ลอดเ​ลอื ดใ​หญต​่ บี แ​ ขง็

            สภาวะ​ที่ท​ ำให้เ​พิ่ม​อาร์.เอ.จี.อี​นอกจาก​ที่พ​ บใ​น​เบาห​ วาน ยังพ​ บไ​ด้​อีก​ใน​ไขม​ ัน​ในเ​ลือด​สูง โรคไ​ตเ​รื้อรัง
และ​ในผ​ ู้​สูง​วัย เป็นเ​หตุ​ให้​หลอดเ​ลือด​ตีบแ​ ข็ง​นั่นเอง

            ขณะน​ มี​้ ก​ี ารค​ น้ ควา้ ห​ าย​ าต​ า่ งๆ ทีจ​่ ะล​ ดร​ ะดบั เ​อ.จ.ี อเ​ี ปน็ ส​ าร​ อะม​ โ​ิ นก​ วาเ​นธด​ิ นี (Aminoguanethidine)
และอ​ ะล​ าจ​ เิ​บร​ ยี​ ม (Alagebrium) เมื่อ​ใชใ้​นห​ นทู​ ดลองพ​ บว​ ่า ลดค​ วามแ​ ข็งต​ ัวข​ องห​ ลอดเ​ลือด และใ​นห​ ัวใจ นอก​จาก​ นี้
อะ​ลาจ​ ิ​เบร​ ี​ยมย​ ัง​ป้องกันค​ วาม​ผิด​ปกติข​ องไ​ตท​ ี่เ​กิด​จากเ​อ.จี.อีด​ ้วย

       2.2 		ปัจจัย​ที่​มี​ผล​ต่อ​ระบบ​ไหล​เวียน​เร​นิน-แอน​จิ​โอ​เทน​ซิน ( renin-angiotensin system) นอกจาก​ปัจจัย​
น้ำตาลใ​น​เลือดแ​ ล้ว ภาวะ​แทรกซ้อนข​ อง​เบา​หวาน​สามารถ​อธิบายไ​ด้​จากร​ ะบบ​การ​ควบคุมก​ ารไ​หล​เวียนโ​ลหิต

       ในร​ ่างกายม​ สี​ ารช​ ื่อ แ​ อนจ​ โิ​อเ​ทนซ​ โิ​นเ​จน (Angiotensinogen) จะถ​ ูกเ​ปลี่ยนไ​ปโ​ดยเ​อนไ​ซม์เรน​ ินใ​หก้​ ลายเ​ป็น​
แอน​จิ​โอเ​ทนซ​ ิ​โน​เจนว​ ัน (Angiotensiongen I) ซึ่งถ​ ูก​เอนไ​ซม์​แอน​จิ​โอ​เทนซ​ ิน​คอน​เวอร์​ติง​เอ็น​ซัยม์ (Angiotensin
conventing emzyme) ย่อย​ต่อ​ได้​แอน​จิ​โอ​เทน​ซิ​นทู ( Angiotensin II) มี​ฤทธิ์​ทำให้​หลอด​เลือด​ตีบ ไต​ดูด​กลับ​
โซเดียม​เข้า​กระแสเ​ลือด และ​เกิดร​ ีแ​ อค​ทีฟ​ออกซ​ ิ​เจน​สปิซ​ ีส์ (Reactive oxygen species)

       แอน​จิ​โอเ​ทน​ซิ​นทู​ก่อใ​ห้เ​ยื่อบ​ ุ​หลอด​เลือด​ผิด​ปกติ และเ​กิดส​ ภาวะห​ ลอด​เลือด​ตีบแ​ ข็ง ดัง​ภาพท​ ี่ 9.11

                                             เ​บาห​ วาน​

สารท​ ี่​ทำให้​เลือด​แข็งต​ ัว     กระ​ตุ้น​ ระบบเรน​ ิน                      แอนจ​ ิโ​อ​เทน​ซิ​นทู​
  ​เลือดแ​ ข็งต​ ัว​ง่าย            แอนจ​ ิ​โอ​เทนซ​ ิน                       เอ็นโ​ด​ซิ​ลิน​ วัน
                                                                              ​สาร​ทำให้เ​ลือด​แข็ง​ตัว
                                เ​ยื่อ​บุ​หลอดเ​ลือด ผิด​ปกต​ิ                ​ออก​ซิ​เดทีฟ​ สเ​ตร​ ส​

                                    การอ​ ักเสบ​และ​                           หลอดเ​ลือด​หดต​ ัว
                                    เซลล์​เกาะ​ตัวก​ ัน

                                  หลอดเ​ลือดต​ ีบแ​ ข็ง​

ภาพ​ท่ี 9.11 แผนภูม​ทิ เ่​ี บา​หวานท​ ำให​เ้ กิดส​ ภาวะห​ ลอดเ​ลือดต​ ีบแ​ ขง็

                                ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113