Page 103 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 103
อาหารกับก ลุ่มอ าการเมแทบอ ล ิก 9-39
ตารางท่ี 9.5 เปรยี บเทยี บระดบั น้ำตาลข องค นป กติ ผู้ป่วยเบาห วาน และผ ทู้ ีม่ อี าการเบาหวาน
คนปกติ กอ่ นอาหาร ระดับน้ำตาล
เบาหวาน 70-99 หลงั การด่ืมสารละลายกลโู คส 75 กรมั
ไอ.เอฟ.จี* (IFG) > 126 ไม่เกิน 140
ไอ.จี.ที** (IGT) > 200
100 - 125
140 – 199
3. การค ดั ก รองโรคเบาห วาน
เนื่องจากเบาหวานมีโรคแทรกซ้อนทั้งเฉียบพลัน และเรื้อรังซ ึ่งถ้าไม่รักษาให้อยู่ในเกณฑ์ จะทำให้เกิดภาวะ
แทรกซ้อน จนม ีอ ันตรายถ ึงแก่ช ีวิต ที่ส ำคัญค ือเบาห วานช นิดท ี่ 2 นั้นในร ะยะแ รกข องก ารเกิดโรคผ ู้ป ่วยย ังไม่มีอ าก าร
ใดๆ ทั้งสิ้น จึงค วรค ัดกรองผ ู้เป็นเบาห วานตั้งแต่ร ะยะแรกเริ่มให้เร็วที่สุด เพื่อการช ะลอโรคแทรกซ้อนออกไปให้น าน
ที่สุด ทำให้เกิดสุขภาพดีสำหรับประชาชน
3.1 แนวทางการคัดกรองโรคเบาหวาน ใช้สำหรับผู้ใหญ่ โดยไม่รวมหญิงตั้งครรภ์ซึ่งจะมีแนวทางแตกต่าง
ออกไป เกณฑ์ผ ู้ท ี่ควรได้ร ับการค ัดกรองม ี ดังนี้
3.1.1 ผู้ม ีอายุ 35 ปีขึ้นไป
3.1.2 ผู้ท ี่อ ้วน มีด ัชนีม วลก ายเท่ากับห รือมากกว่า 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร
ความอ ้วนล งพุง ใช้ม าตรฐานร อบเอวช าย เท่ากับห รือม ากกว่า 90 เซนติเมตร รอบเอวห ญิงเท่ากับห รือ
มากกว่า 80 เซนติเมตร
3.1.3 มีโรคค วามดันโลหิตส ูง หรือกินยาควบคุมค วามด ันโลหิตอยู่
3.1.4 มีระดับไขม ันในเลือดผ ิดป กติห รือกินยาค วบคุมไขม ันอยู่
3.1.5 เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM) หรือเคยคลอดบุตรน้ำหนักตัวแรกเกิด เกิน 4
กิโลกรัม
3.1.6 เคยตรวจพบว่าม ี ไอ.จี.ที หรือ ไอ.เอฟ.จี
3.1.7 มีโรคหัวใจและห ลอดเลือด
ผู้ม ีเกณฑ์เสี่ยงข้อใดข ้อห นึ่งใน 7 ข้อ ควรได้รับก ารต รวจค ัดก รองโรคเบาห วาน ถ้าป กติต ้องต รวจซ ้ำ
ทุกป ี
สำหรับมาตรฐานรอบเอว (waist circumference) สำหรับคนไทยคือ เท่ากับหรือน้อยกว่า 90
เซนติเมตร ในผ ู้ชายและผ ู้ห ญิงเท่ากับหรือน้อยกว่า 80 เซนติเมตร
วิธีวัดรอบเอว ให้ทำในช่วงเช้า ขณะที่ยังไม่รับประทานอาหาร ตำแหน่งที่วัด ไม่ควรมีเสื้อผ้าปิด โดย
ปฏิบัติ ดังนี้
1) อยู่ในท่าย ืน เท้า 2 ข้าง ห่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร
2) หาจ ุดขอบบนสุดข องก ระดูกเชิงกราน และขอบล ่างข องชายโครง
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช