Page 101 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 101

อาหารก​ ับ​กลุ่มอ​ าการเ​มแ​ ทบอ​ ล​ ิก 9-37

แทรกซ้อน​ของ​หลอด​เลือด​ใหญ่​ที่​ไป​เลี้ยง​สมอง หัวใจ ขา​และ​เท้า​ยัง​มีปัจจัย​ด้าน​ความ​ดัน​โลหิต ไข​มัน​ใน​เลือด และ​
การ​แข็งต​ ัว​ของเ​ลือดม​ าเ​พิ่มอ​ ีก

       คำ​จำกดั ​ความข​ อง​โรคเ​บาห​ วาน
       เป็นโ​รค​ไม่ต​ ิดเ​ชื้อ เรื้อรัง เกิดจ​ าก​การ​มี​น้ำตาล​ใน​เลือด​สูง​กว่าป​ กติ ทำให้เ​กิดภ​ าวะแ​ ทรกซ้อน​ของ​หลอด​เลือด​
ทั่ว​ร่างกาย อาจเ​กิด​จาก​การ​ขาด​อินซูลิน หรืออ​ ินซูลิน จำนวน​มาก​แต่​ออกฤ​ ทธิ์​ไม่​ได้ เรียก​ว่าเ​กิดภ​ าวะ​ดื้ออ​ ินซูลิน
       ค่าป​ กติ​ของ​ระดบั ​นำ้ ตาล
       ปัจจุบันค​ ่าป​ กติข​ องน​ ้ำตาลใ​นเ​ลือดท​ ี่เ​จาะ 8 ชั่วโมงห​ ลังง​ ดอ​ าหารค​ ือ 70-99 มิลลิกรัม​ต่อเ​ลือด 1 เดซิลิตร หลัง​
อาหาร 2 ชั่วโมง น้ำตาลต​ ้อง​ไม่เ​กิน 140 มก./ดล. ผู้​เป็นเ​บาห​ วานค​ ือ​ผู้​มี​น้ำตาลข​ ณะง​ ด​อาหาร 8 ชั่วโมง 126 มก./ดล.
หรือห​ ลัง​อาหาร 2 ชั่วโมง น้ำตาล 200 มก./ดล.
       มี​ผู้ท​ ี่​น้ำตาล​ในเ​ลือดใ​นข​ ณะง​ ด​อาหาร 8 ชั่วโมง ที่ร​ ะดับ 100-125 มก./ดล. นับว​ ่า​น้ำตาลเ​ริ่มผ​ ิดป​ กติ เรียกว​ ่า​
อิม​แพร์ฟา​สติ้​งกลูโคส (Impaired fasting glucose) หรือ IFG
       ผู้​ที่​น้ำตาล​ใน​เลือดห​ ลัง​อาหาร 2 ชั่วโมง​อยู่​ระหว่าง 140-199 มก./ดล. เรียกว​ ่า อิม​แพร์​กลูโคส​โท​เลอร​ านส​ ์
(Impaired glucose tolerance หรือ IGT)
       ไอ.เอฟ.จี และไ​อ.จี.ที รวม​กันแ​ ล้ว เรียก​ว่า พรี​ไดอะ​บิ​ติสเ​มล​ ลิตั​ส (Pre diabetes mellitus) ถ้าไ​ม่​ได้​รับ​การ​
แก้ไข จะก​ ลาย​เป็น​เบาห​ วาน​ได้​ปี​ละ​ร้อย​ละ 11 แต่​ถ้าป​ รับ​พฤติกรรม​ด้วยก​ าร​จัดการ​อาหารร​ ่วมก​ ับก​ ารอ​ อก​กำลังก​ าย​
สัปดาห์​ละ 150 นาที หรือล​ ด​น้ำห​ นัก​ลงร​ ้อยล​ ะ 7 สามารถป​ ้องกัน​เบาห​ วาน​ได้ร​ ้อย​ละ 58
       ดัง​นั้น ผู้​ที่​มี​น้ำตาล​ผิด​ปกติ​เล็ก​น้อย ทั้ง​ก่อน​และ​หลัง​อาหาร ต้อง​สนใจ​ปรับ​พฤติกรรม จะ​ทำให้​ชะลอ​โรค
เ​บาห​ วานอ​ อก​ไปไ​ด้
       เนื่องจาก​เบา​หวาน​เป็นภ​ ัยเ​งียบ ใน​ระยะ​แรก​ที่น​ ้ำตาลเ​พิ่ม​จะ​ไม่แ​ สดงอ​ าก​ ารใ​ดๆ เลย ถ้าป​ ล่อยไ​ว้​ให้​มี​อาการ​
ชัดเจน คือน​ ้ำ​หนักล​ ด​ทั้งท​ ี่​กิน​ได้ ปัสสาวะบ​ ่อย กระหายน​ ้ำ​บ่อย จะ​มี​โอกาสเ​กิด​โรคแ​ ทรกซ้อน​ได้ คือ​โรค​หลอดเ​ลือด​
สมองแ​ ละ​หัวใจร​ ้อย​ละ 50 จอต​ า​ผิดป​ กติร​ ้อย​ละ 20 ปลายป​ ระสาทผ​ ิดป​ กติร​ ้อย​ละ 9 ไต​เริ่ม​ผิด​ปกติ​ร้อยล​ ะ 8
       จึง​มี​คำ​แนะนำ​ให้​คัด​กรอง​เบา​หวาน ด้วย​การ​ตรวจ​เลือด ถ้า​ผิด​ปกติ​ใน​ระดับ​เป็น​เบา​หวาน ต้อง​ตรวจ​ซ้ำ​อีก​
ครั้ง​ต่างว​ ัน​กัน ถ้าผ​ ิดป​ กติอ​ ีก จึง​จะว​ ินิจฉัยว​ ่า​เป็น​เบา​หวาน
       สำหรับ​ผู้​มี​อาการ​ชัดเจน หาก​เจาะ​เลือด​ใน​เวลา​ใดๆ ก็ตาม​ได้​น้ำตาล 200 มก./ดล. ขึ้น​ไป ให้​วินิจฉัย​ได้​ว่า​
เป็นเ​บา​หวาน

1. 	ประเภท​ของ​เบาห​ วาน

       โรคเ​บาห​ วาน​สามารถแ​ บ่ง​ตามส​ าเหตุก​ ารเ​กิด​โรคเ​ป็น 4 ประเภท ดังนี้
       1) 	โรค​เบาห​ วาน​ประเภท​ที่ 1
       2) 	โรค​เบา​หวาน​ประเภทช​ นิดท​ ี่ 2
       3) 	โรคเ​บา​หวาน​ที่ม​ ี​สาเหตุ​จำเพาะ
       4) 	โรค​เบา​หวาน​ขณะ​ตั้งค​ รรภ์
       1.1 		โรคเ​บาห​ วานป​ ระเภทท​ ่ี 1 (Type 1 diabetes mellitus, T1 DM) เกิดจ​ าก​ การท​ ี่​เซลล์เ​บต้า​ใน​ตับอ​ ่อนถ​ ูก​
ทำลาย ทำให้​ไม่ส​ ามารถผ​ ลิต​อินซูลินไ​ด้ ส่วนใ​หญ่​เกิดใ​น​เด็ก​มีอ​ าการ​แบบเ​ฉียบพลัน ผู้ป​ ่วย​ต้อง​ได้ร​ ับก​ าร​รักษาด​ ้วย​
อินซูลิน มิฉ​ ะนั้นจ​ ะเ​กิดอ​ ันตราย​ถึงแก่​ชีวิตไ​ด้ เบา​หวานช​ นิดน​ ี้​พบไ​ม่​ถึงร​ ้อย​ละ 5 ใน​ประเทศไทย
       1.2 		โรค​เบาห​ วานป​ ระเภท​ที่ 2 (Type 2 diabetes mellitus, T2 DM) พบ​บ่อยป​ ระมาณร​ ้อย​ละ 95 ของ​ผู้​เป็น​
เบา​หวาน​ทั้งหมด เริ่ม​อายุ 30 ปี​ขึ้น​ไป พบ​ใน​ผู้​ที่​รูป​ร่าง​ท้วม​หรือ​อ้วน ระยะ​แรก​มี​น้ำตาล​ใน​เลือด​ค่อยๆ สูง​กว่า​ปกติ

                              ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106