Page 96 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 96
9-32 อาหารแ ละโภชนบ ำบัด
หลังจ ากก ารป รับพ ฤติกรรม ต้องม กี ารต ิดตามร ะดับไขม ันในเลือด หากพ บว ่าอ ยูใ่นเกณฑป์ กตติ ้องด ำเนินก าร
ต่อเนื่อง เพื่อร ักษาร ะดับไขม ันไว้ แต่ถ ้าไม่ได้ผ ลต ามเป้าห มายแ พทย์จะพิจารณาใช้ยาล ดไขมันเป็นขั้นตอนต่อไป
1.2 การใชย้ าลดไขมนั เมื่อปรับพฤติกรรมตามคำแนะนำอย่างเต็มความสามารถแล้ว ถ้าพบว่า ไขมันยังสูง
แพทย์พิจารณาใช้ยาซึ่งม ีอ ยู่ 5 กลุ่มด ังนี้
1.2.1 ยาต้านเอนไซม์ที่สังเคราะห์ไขมัน ยากลุ่มนี้ยับยั้งเอนไซม์ที่ทำให้ตับสร้างไขมัน จะลดไขมัน
แอล.ดี.แอลได้ร้อยละ 20 ถึง 60 ลดไตรกลีเซอไรด์ได้ร้อยล ะ 10 ถึง 30 และเพิ่มไขม ันค วามห นาแ น่นส ูงเอช.ดี.แอล
ได้ร้อยละ 5 ถึง 10 ยานี้ที่ข้อควรระวังคือ อาจทำให้กล้ามเนื้ออักเสบ อาจมีพิษต่อตับ ต้องมีการติดตามหน้าที่ตับ
หลังก ารใช้ย า
1.2.2 ยาต ้านการด ูดซมึ โคเลสเตอรอล ทำให้ลดก ารดูดซึมไขม ัน มีผ ลในการลดแอล.ดี.แอลร ้อยล ะ 17
ไม่มีผ ลต่อไตรกลีเซอไรด์ หรือไขมันเอช.ดี.แอล หลังก ารใช้ยาต ้องม ีการต ิดตามห น้าที่ข องตับ
1.2.3 ยาจับกรดน้ำดี ในกรดน้ำดีมีไขมันที่จับอยู่ ยากลุ่มนี้จะไปจับกับกรดน้ำดีแล้วขับออกไปทาง
อุจจาระ ดังน ั้น ตับจะต้องไปใช้ไขมันแ อล.ดี.แอลที่มีอ ยู่ในเลือดมาใช้สร้างกรดน้ำดีต่อไป ทำให้ลดร ะดับแ อล.ดี.แอล
ได้ร ้อยละ 5 ถึง 20 ในข ณะเดียวกันช่วยให้ลำไส้เล็กสร้างไขมันเอช.ดี.แอล ได้บ้าง ยานี้ไม่มีผลต ่อไตรกลีเซอไรด์ ยา
นี้อ าจท ำให้ห น้าที่ตับเปลี่ยนแปลงได้ ต้องติดตามเป็นร ะยะ
1.2.4 กรดไฟบรกิ (Fibric acid) มีฤ ทธิ์เพิ่มการส ลายก รดไขมันในกล้ามเนื้อและต ับ ลดก ารสร้างไขมัน
ในตับจึงทำให้ลดแอล.ดี.แอลได้ กรดไฟบริกยังช่วยสังเคราะห์ไขมันความหนาแน่นสูงเอช.ดี.แอล ผลการใช้ยาจึง
ลดแ อล.ดี.แอลได้ร ้อยล ะ 5-20 ลดไตรกลีเซอไรด์ร้อยล ะ 35-50 และเพิ่มเอช.ดี.แอลได้ร้อยละ 15-35 ยาน ี้อาจมีผ ล
ต่อการท ำงานของตับได้
1.2.5 กรดนิโคตินิก (Nicotinic acid) ลดการเกลือที่กรดไขมันอิสระเข้าสู่ตับ ทำให้ลดการสร้างไขมัน
ความห นาแ น่นต ่ำม าก (VLDL) และไขม ันค วามห นาแ น่นต ่ำ (LDL) จึงช ่วยล ดก ารส ลายไขม ันค วามห นาแ น่นส ูง (HDL)
มีผ ลให้เพิ่มเอช .ดี.แอลได้ร ้อยล ะ 15 ถึง 35 ส่วนไตรกลีเซอไรด์ลดได้ร้อยล ะ 25-30 ยานี้มีผ ลต่อการท ำงานข องตับ
ด้วย ต้องต ิดตามเป็นร ะยะ
2. การจัดการอ าหารสำหรับผ ู้มไี ขมนั ในเลอื ดส ูง
2.1 หลกั ก ารจ ัดอาหารส ำหรบั ผูม้ ไี ขมันในเลอื ดส ูง เริ่มท ี่ก ารค ำนวณพ ลังงานอ าหารในแต่ละว ัน หากเป็นผู้ม ี
น้ำหนักเกินต ้องล ดพ ลังงานล งจากเดิม 500 ถึง 1,000 กิโลแคลอรี หรือใช้วิธีค ำนวณน้ำหนักมาตรฐานของบุคคลผู้นั้น
คูณด้วย 25 ในข ณะท ี่ผู้มีน ้ำห นักป กติให้ค ูณด้วย 30
ตัวอย่างเช่น ชายสูง 170 เซนติเมตร น้ำหนัก 90 กิโลกรัม ในขณะท ี่น้ำห นักมาตรฐานค วรเป็น 170-100 = 70
กิโลกรัม ปริมาณแ คลอรีท ั้งว ันค วรได้ 70 × 25 = 1,750 แคลอรี หรือลดจ ากท ี่รับประทานอ ยู่เดิมลงว ันล ะ 500 กิโล-
แคลอรี ทั้งนี้ต้องอยู่ในสภาพที่พอจ ะทำได้ แยกเป็นอาหาร ดังนี้
1) ไขมันท ั้งหมดที่ควรได้ร ้อยล ะ 25 ของแคลอรีทั้งหมด
25
คือ 1,750 × 100 = 437.5 กิโลแคลอรี
2) ไขมันอ ิ่มต ัวได้จ ากเนื้อส ัตว์ ไขมันสัตว์ น้ำมันมะพร้าว เนย ไม่ค วรบริโภคเกินร้อยละ 7 ของไขม ัน
ทั้งหมด ไขม ันอ ิ่มต ัวเป็นต้นตอข องไขม ันแอล.ดี.แอลซึ่งเป็นสาเหตุข องหลอดเลือดตีบแข็ง
3) ไขม นั ท รานส์ ไดจ้ ากน ำ้ มนั ท ที่ อดซ ำ้ ควรห ลกี เลีย่ งใหน้ อ้ ยท ีส่ ดุ ไขม นั เหลา่ น พี้ บในอ าหารอ บ เบเกอ รี่
อาหารก รุบกรอบ กล้วยแ ขก มันทอด ปาท่องโก๋
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช